กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาคร


“ โครงการควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคชิกุนคุนย่าในตำบลสาคร ”

ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายอาด เตาวโต

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคชิกุนคุนย่าในตำบลสาคร

ที่อยู่ ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5290-5-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคชิกุนคุนย่าในตำบลสาคร จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาคร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคชิกุนคุนย่าในตำบลสาคร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคชิกุนคุนย่าในตำบลสาคร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5290-5-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาคร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก เป็นโรคที่ถือว่าเป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุข ซึ่งนอกจากจะเป็นโรคที่เกิดขึ้นตามฤดูกาลแล้วยังเป็นโรคติดต่ออุบัติซ้ำ ซึ่งมียุงเป็นพาหะนำโรค และมีแนวโน้มว่าจะมีผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น ในเขตตำบลสาคร พบผู้ป่วยที่เป็นโรคไข้เลือดออกมากกว่า 40 คน ในครึ่งปีแรก และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเข้าฤดูฝน ส่วนใหญ่จะพบในทุกกลุ่มวัย มีสาเหตุมาจากปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ขาดการจัดการและตระหนักของประชาชนในพื้นที่ โรคชิคุนกุนยา เป็นโรคติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยาที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค มีอาการคล้ายไข้เดงกี แต่ต่างกันที่ไม่มีการรั่วของพลาสมาออกนอกเส้นเลือด จึงไม่พบผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงมากจนถึงมีการช็อก สาเหตุ เกิดจากเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา (Chikungunya virus) ซึ่งเป็น RNA Virus จัดอยู่ใน genus alphavirus และ family Togaviridae มียุงลาย Aedes aegypti, Ae. albopictus เป็นพาหะนำโรค วิธีการติดต่อ ติดต่อกันได้โดยมียุงลาย Aedes aegypti เป็นพาหะนำโรคที่สำคัญ เมื่อยุงลายตัวเมียกัดและดูดเลือดผู้ป่วยที่อยู่ในระยะไข้สูง ซึ่งเป็นระยะที่มีไวรัสอยู่ในกระแสเลือด เชื้อไวรัสจะเข้าสู่กระเพาะยุง และเพิ่มจำนวนมากขึ้น แล้วเดินทางเข้าสู่ต่อมน้ำลาย เมื่อยุงที่มีเชื้อไวรัสชิคุนกุนยาไปกัดคนอื่นก็จะปล่อยเชื้อไปยังคนที่ถูกกัด ทำให้คนนั้นเกิดอาการของโรคได้ ระยะฟักตัว โดยทั่วไปประมาณ 1-12 วัน แต่ที่พบบ่อยประมาณ 2-3 วัน ระยะติดต่อ ระยะไข้สูงประมาณวันที่ 2 – 4 เป็นระยะที่มีไวรัสอยู่ในกระแสเลือดมาก อาการและอาการแสดง ผู้ป่วยจะมีอาการไข้สูงอย่างฉับพลัน มีผื่นแดงขึ้นตามร่างกายและอาจมีอาการคันร่วมด้วย พบตาแดง (conjunctival injection) แต่ไม่ค่อยพบจุดเลือดออกในตาขาว ส่วนใหญ่แล้วในเด็กจะมีอาการไม่รุนแรงเท่าในผู้ใหญ่ ในผู้ใหญ่อาการที่เด่นชัดคืออาการปวดข้อ ซึ่งอาจพบข้ออักเสบได้ ส่วนใหญ่จะเป็นที่ข้อเล็กๆ เช่น ข้อมือ ข้อเท้า อาการปวดข้อจะพบได้หลายๆ ข้อเปลี่ยนตำแหน่งไปเรื่อยๆ (migratory polyarthritis) อาการจะรุนแรงมากจนบางครั้งขยับข้อไม่ได้ อาการจะหายภายใน 1-12 สัปดาห์ ผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการปวดข้อเกิดขึ้นได้อีกภายใน 2-3 สัปดาห์ต่อมา และบางรายอาการปวดข้อจะอยู่ได้นานเป็นเดือนหรือเป็นปี ไม่พบผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงถึงช็อก ซึ่งแตกต่างจากโรคไข้เลือดออก อาจพบ tourniquet test ให้ผลบวก และจุดเลือดออก (petichiae) บริเวณผิวหนังได้ ความแตกต่างระหว่างDF/DHF กับการติดเชื้อ chikungunya
ซึ่งขณะนี้เกิดการระบาดของโรคชิกุนคุนย่าในอำเภอเมือง อำเภอละงู ซึ่งในเขตตำบลสาครพบผู้ป่วย 1 ราย ซึ่งต้องได้รับการควบคุมอย่างเร่งด่วนเพื่อป้องกันการระบาดของโรค ทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ตำบลสาคร เล็งเห็นถึงปัญหาการระบาดของโรคติดต่อ จึงได้จัดทำโครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคชิกุนคุนย่าตำบลสาคร เพื่อป้องกันภัยก่อนเกิดโรคติดต่อ และควบคุมกรณีเกิดโรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อควบคุมและป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ
  2. เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการระบาดของโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. พ่นหมอกควันควบคุมกรณีเกิดโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ลดการระบาดของโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. พ่นหมอกควันควบคุมกรณีเกิดโรค

วันที่ 30 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

พ่นหมอกควันในบ้านผู้ป่วยและบ้านรอบๆในรัศมี 100 เมตร จำนวน 2 ครั้ง ห่างกัน 1 สัปดาห์ จำนวน 50 ราย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยได้รับการสอบสวนและควบคุมโรคทันเวลาและครบถ้วนตามหลักระบาดวิทยา

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อควบคุมและป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการระบาดของโรค
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อควบคุมและป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ (2) เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการระบาดของโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พ่นหมอกควันควบคุมกรณีเกิดโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคชิกุนคุนย่าในตำบลสาคร จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5290-5-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาด เตาวโต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด