โครงการ อบรมและรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุง
ชื่อโครงการ | โครงการ อบรมและรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุง |
รหัสโครงการ | 006 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | อสม. ชุมชนกำปงบารู |
วันที่อนุมัติ | 20 ธันวาคม 2559 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 26 กุมภาพันธ์ 2560 - 26 กุมภาพันธ์ 2560 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 15,300.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | อสม. ชุมชนกำปงบารู |
พี่เลี้ยงโครงการ | - |
พื้นที่ดำเนินการ | โรงเรียนอิสลามบำรุง ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.073,101.905place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ณปัจจุบันโรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาที่สำคัญในขณะนี้ และมีแนวโน้มที่จะระบาดรุนแรงขึ้นทุกปีเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและได้คร่าชีวิตผู้คนเป็นจำนวนมากซึ่งนำความสูญเสียแก่หลายครอบครัว ส่วนใหญ่เป็นเยาวชนอันเป็นอนาคตของชาติต่อไป จึงจำเป็นต้องช่วยกันรณรงค์ให้ชาวบ้านได้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกโดยด่วน และให้ทราบถึงวิธีป้องกันตัวเองไม่ให้เป็นโรคไข้เลือดออกอีกด้วย โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่พบในประเทศเขตร้อนและเขตอบอุ่นโดยเฉพาะในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผู้ป่วยไข้เลือดออกส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่ม 5-9 ปีรองลงมาได้แก่กลุ่มอายุ 10-14 ปี ในปัจจุบันมีการระบาดของโรคอย่างกว้างขวาง
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ชาวบ้านมีความรู้ในการป้องกันกำจัดลูกน้ำยุงลายและไข้เลือดออก
|
||
2 | 2.เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ชาวบ้านตื่นกลัวและตระหนักในการดูแลตัวเอง
|
||
3 | 3.เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในคนไทยโดยเฉพาะเด็ก
|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องไข้เลือดออก 2.รณรงค์ ทำลาย แหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 183 หลัง
1.ชาวบ้านมีความรู้ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้น 2.จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนลดลง 3.ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 ก.พ. 2560 11:18 น.