กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง


“ โครงการเกาะใหญ่ปลอดอบายมุข ”

ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางเยาวพา นุ่มคง

ชื่อโครงการ โครงการเกาะใหญ่ปลอดอบายมุข

ที่อยู่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5171-2-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกาะใหญ่ปลอดอบายมุข จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกาะใหญ่ปลอดอบายมุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกาะใหญ่ปลอดอบายมุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5171-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,950.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สังคมไทยในยุคปัจจุบันมีปัญหามากมายที่เกิดขึ้นและแก้ไขค่อนข้างยาก ปัจจุบันการดำรงชีวิตของคนในสังคมมีปัยหานานัปการ ปัญหาเศรษฐกิจ การครองชีพ การประกอบอาชีพไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่ายปัญหาสังคมโดยเฉพาะปัญหายาเสพติด ปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาความเจริญก้าวหน้าของเด็กและเยาวชน ที่ ซึ่งบางครั้งแม้พ่อแม่หรือผู้ปกครองก็เป็นผู้สร้างปัญหาให้เกิดขึ้นด้วยซ้ำ ผู้ปกครองของเด็กจากครอบครัวที่มีผู้ติดยา มักได้รับความเดือดร้อนจากผู้ติดยาในทุกด้าน นำไปสู่ความยุ่งยาก ขัดแย้ง แตกแยก และสิ้นเปลืองในการแก้ปัญหา ปัญหายาเสพติดได้ก่อให้เกิดความหวาดระแวงจากประชาชน และสังคมในวงกว้างเนื่องจากเกรงว่าบุตรหลานจะเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดหรือถูกประทุษร้ายจากผู้เสพยาที่มีอาการผิดปกติทางจิต ผู้ติดยามักก่อให้เกิดอาชญากรรมต่อเนื่อง ตั้งแต่การเข้าไปเกี่ยวข้องกับแหล่งอบายมุุข การลักเล็กขโมยน้อย การประทุษร้ายต่อชีวิต และทรัพย์สิน การพนันและอาชญากรรมต่างๆ สำหรับผู้ค้าและหรือผู้เสพซึ่งเป็นหัวหน้าครอบครัว เมื่อถูกจับกุมและดำเนินการทางกฎหมาย จะส่งผลกระทบให้สมาชิกภายในครอบครัวได้รับความเดือดร้อนในการดำรงชีวิตทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กและเยาวชนที่อยู่ภายใต้การปกครองจะต้องออกจากโรงเรียน ซึ่่งเป็นการทำลายอนาคตของประเทศชาติ นักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะใหญ่มาจากครอบครัวที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงปัญหายาเสพติด ปัญหาการพนันอันเป็นอบายมุขที่อาจส่งผลต่อการพัฒนาให้เป็นเยาวชนที่มีคุณภาพของประเทศชาติ นักเรียนมีปัญหาการเรียนไม่จบการศึกษาภาคบังคับ เนื่องจากไปยุ่งเกี่ยวกับสารเสพติด ทำให้คุณภาพชีวิตของเด็กและเยาวชนในชุมชนไม่ดี จากปัยหาดังกล่าวโรงเรียนบ้านเกาะใหญ่ จึงจัดทำโครงการเกาะใหญ่ปลอดอบายมุข เพื่อให้เด็กนักเรียนในโรงเรียนบ้านเกาะใหญ่มีคุณลักษณะ เก่ง ดี มีสุข พัฒนานักเรียนให้มีความรู้เกิดความตระหนักในอันตรายของยาเสพติดและการพนันทุกประเภทเพื่อจะได้สามารถดำรงชีวิตในสังคมโดยไม่ต้องยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดและการพนันทุกประเภท

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1) เพื่อให้นักเรียนได้รับรู้เกี่ยวกับอบายมุข ยาเสพติดและการพนัน 2)เพื่อให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึงอันตรายของยาเสพติดและการพนัน 3)เพื่อให้นักเรียนรู้จักคิด วิเคราะห์สถานการณ์เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 4)เพื่อให้นักเรียนสามารถดำรงชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สำรวจข้อมูล ติดต่อประสานงานกับวิทยากร
  2. กำหนดภาระงาน
  3. จัดกิจกรรมตาโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 87
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับอบายมุข ยาเสพติดและการพนัน 2.นักเรียนเกิดความตระหนักถึงอันตรายของยาเสพติดและการพนัน 3.นักเรียนรู้จักคิด วิเคราะห์สถานการณ์เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 4.นักเรียนสามารถดำรงชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1) เพื่อให้นักเรียนได้รับรู้เกี่ยวกับอบายมุข ยาเสพติดและการพนัน 2)เพื่อให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึงอันตรายของยาเสพติดและการพนัน 3)เพื่อให้นักเรียนรู้จักคิด วิเคราะห์สถานการณ์เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 4)เพื่อให้นักเรียนสามารถดำรงชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 100 ของนักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับอบายมุข ยาเสพติดและการพนัน 2.ร้อยละ 100 ของนักเรียนเกิดความตระหนักถึงอันตรายของยาเสพติดและการพนัน 3.ร้อยละของนักเรียนรู้จักคิด วิเคราะห์สถานการณ์เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 4.ร้อยละ 90 ของนักเรียนสามารถดำรงชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 87
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 87
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1) เพื่อให้นักเรียนได้รับรู้เกี่ยวกับอบายมุข ยาเสพติดและการพนัน 2)เพื่อให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึงอันตรายของยาเสพติดและการพนัน 3)เพื่อให้นักเรียนรู้จักคิด วิเคราะห์สถานการณ์เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 4)เพื่อให้นักเรียนสามารถดำรงชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจข้อมูล ติดต่อประสานงานกับวิทยากร (2) กำหนดภาระงาน (3) จัดกิจกรรมตาโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเกาะใหญ่ปลอดอบายมุข จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5171-2-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเยาวพา นุ่มคง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด