กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลิตภัณฑ์ทดแทนโฟมบรรจุอาหารที่ราคาแพง เมื่อเทียบกับโฟมบรรจุอาหาร อาจส่งผลกระทบต่อรายได้ของผู้ประกอบการ และผู้ประกอบการบางรายอยู่ในช่วงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ผลิตภัณฑ์ทดแทนโฟมบรรจุอาหาร ผู้ประกอบการจึงพยายามขายหรือใช้ของที่เหลืออยู่ให้หมดก่อน สาเหตุมาจากระยะเวลาที่ดำเนินโครงการมีสั้น ทำให้ผู้ประกอบการไม่สามารถตัดสินใจได้ในระยะเวลาอันจำกัดได้ ดังนั้น ด้วยระยะเวลาดำเนินโครงการที่สั้น ทำให้ผลการดำเนินโครงการไม่สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้เรื่องอันตรายจากการใช้โฟมบรรจุอาหาร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๙๐ ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องอันตรายจากการใช้โฟมบรรจุ
303.00

 

2 เพื่อสร้างความตระหนักให้หน่วยงานภาครัฐภาคเอกชน แกนนำนักเรียน อาสาสมัครสาธารณสุข แกนนำชุมชน เจ้าของตลาดนัด ผู้ประกอบการร้านอาหารแผงลอยและผู้บริโภค ลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหาร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๑๐๐ ของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน แกนนำนักเรียน อาสาสมัคร สาธารณสุข แกนนำชุมชน เจ้าของตลาดนัด ผู้ประกอบการร้านอาหาร แผงลอย และผู้บริโภค สามารถ ลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหาร
303.00

 

3 เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและชุมชนปลอดโฟมบรรจุอาหาร
ตัวชี้วัด : มีหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและชุมชนปลอดโฟม ๑๐๐%
303.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 303
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 303
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้เรื่องอันตรายจากการใช้โฟมบรรจุอาหาร (2) เพื่อสร้างความตระหนักให้หน่วยงานภาครัฐภาคเอกชน แกนนำนักเรียน อาสาสมัครสาธารณสุข แกนนำชุมชน เจ้าของตลาดนัด ผู้ประกอบการร้านอาหารแผงลอยและผู้บริโภค ลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหาร (3) เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและชุมชนปลอดโฟมบรรจุอาหาร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่ครูอนามัยโรงเรียน แกนนำนักเรียนอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน แกนนำชุมชน เจ้าของตลาด เจ้าของร้านค้า เจ้าของร้านอาหารแผงลอยขายอาหารตัวแทนผู้บริโภค (2) เดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ลด ละ เลิก การใช้ ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร ติดประกาศนโยบายหมู่บ้าน ทำป้ายประชาสัมพันธ์ หมู่บ้านละ ๑ ผืน จำนวน ๙ หมู่บ้าน โรงเรียนละ ๑ ผืน จำนวน ๗ โรง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ๑ ผืน จำนวน ๒ แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำบลปุโละปุโย ๑ ผืน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ผลิตภัณฑ์ทดแทนโฟมบรรจุอาหารมีราคาแพงเมื่อเทียบกับโฟมบรรจุอาหาร (2) ระยะเวลาที่ดำเนินโครงการมีสั้น

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh