กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจองถนน


“ โครงการควบคุมและป้องกันโรคมือเท้าปาก ประจำปี 2561 ”

ตำบลจองถนน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุมาลีสุวรรณชนะ

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันโรคมือเท้าปาก ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลจองถนน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3313-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมและป้องกันโรคมือเท้าปาก ประจำปี 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจองถนน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจองถนน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคมือเท้าปาก ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันโรคมือเท้าปาก ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจองถนน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3313-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,918.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจองถนน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมือ เท้า ปาก เป็นโรคติดเชื้อไวรัสในลำไส้ของมนุษย์ สายพันธ์ุที่ก่อโรคมือ เท้า ปาก ได้แก่ Coxsackie virus group A, B และ Enterovirus 71 (EV71) มักพบในเด็กเล็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ปี ผู้ป่วยมักจะมีอาการไข้ มีผื่นหรือตุ่มพองในปาก ฝ่ามือ ฝ่าเท้า ส่วนมากอาการไม่รุนแรง มีเพียงส่วนน้อยประมาณ ร้อยละ 1 ที่มีอาการรุนแรงจนถึงเสียชีวิตได้จากภาวะแทรกซ้อน เช่น ปอดบวมน้ำ สมองอักเสบ หัวใจวาย สายพันธ์ุที่มักทำให้เกิดอาการรุนแรง ได้แก่ EV71 โรคนี้มักระบาดในสถานรับเลี้ยงเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนที่มีชั้นอนุบาล ข้อมูลผู้ป่วย จากข้อมูลการเฝ้าระวังโรคของสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 29 ธันวาคม 2561 ทั่วประเทศพบผู้ป่วยโรคมือ เท้า ปาก จำนวน 70,377 ราย และเสียชีวิต 8 ราย โดยผู้ป่วยเพิ่มจากสัปดาห์ผ่านมาเกือบ 188 ราย ส่วนใหญ่พบในเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ภาคที่มีอัตราป่วยสูงสุด คือ ภาคเหนือ 129.06 ต่อแสนประชากร, ภาคกลาง 119.79 ต่อแสนประชากร, ภาคใต้ 96.74 ต่อแสนประชากร, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 87.91 ต่อแสนประชากร ตามลำดับการระบาดกระจายไปทั่วทุกจังหวัด มีการระบาดเป็นกลุ่มก้อน ขยายเป็นวงกว้างในหลายจังหวัด ซึ่งหากไม่มีการป้องกันควบคุมโรคที่ดีแล้ว ก็อาจทำให้มีการระบาดมากขึ้นได้       สถานการณ์โรคมือ เท้า ปาก ใน รพ.สต.บ้านบางแก้วใต้ พบผู้ป่วยโรคนี้เป็นระยะ ๆ โดยการป่วยด้วยโรคดังกล่าวนั้นมีอยู่ก่อนแล้วไม่ใช่เป็นโรคที่เกิดขึ้นมาใหม่ ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้เฝ้าระวังการระบาดของโรคนี้แล้ว โดยเฉพาะในพื้นที่ใหญ่ ๆ โดยทำความเข้าใจกับโรงเรียนแต่ละแห่ง หากพบว่ามีเด็กป่วยด้วยโรคนี้ ก็ขอให้หยุดเรียนทันที เพื่อป้องกันการระบาดไปสู่เพื่่อนนักเรียนในชั้นเรียนแม้ว่ายังไม่มีรายงานการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคนี้ก็ตาม แต่จากการระบาดและมีการเสียชีวิตของผู้ป่วยในประเทศไทย ก็มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดการระบาด โรคนี้เป็นโรคที่่ติดต่อได้ง่าย เกิดขึ้นกับเด็กเล็กที่ไม่สามารถป้องกันโรคด้วยตัวเองได้ ดังนั้น รพ.สต.มีหน้าที่ในการป้องกันและควบคุมโรคให้แก่ประชาชนในพื้่นที่ ได้จัดทำโครงการควบคุมและป้องกัน โรคมือ เท้า ปาก ประจำปีงบประมาณ 2561 ขึ้นมา เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจถึงสถานการณ์ของโรคแต่ละโรคที่ต้องเฝ้าระวัง โดยเฉพาะโรคมือ เท้า ปาก ให้แก่ กลุ่มเป้าหมาย มีให้มีการแพร่ระบาดจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไปสู่ชุมชนได้       ดังนั้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังโรคนี้เป็นพิเศษตามแนวทางการเฝ้าระวัง สอบสวนและรายงานโรค กรณีสงสัยติดเชื้อเอนเทอโรไวรัส (Enterovirus) ที่มีอาการรุนแรง และการระบาดของโรคนี้ ของกรมควบคุมโรค มาตรการควบคุมการระบาด ทำได้โดยการให้ความรู้แก่ผู้ป่วยทุกราย ครูผู้ดูแลเด็ก ครู ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในการรักษาความสะอาดของร่างกายแล้ว วิธีที่จำเป็นในการตัดวงจรของโรค คือ การทำความสะอาดอาคารสถานที่ด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อและทำความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง อย่างต่อเนื่อง หากพบว่าเด็กป่วย กรมควบคุมโรคแนะนำให้ดำเนินการตามแนวทางป้องกันโรคนี้ ดังนี้       1. แยกเด็กป่วยออกจากเด็กปกติ       2. แจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่รับผิดชอบ       3. แจ้งให้ผู้ปกครองรับกลับบ้านและพาเด็กไปพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยและรักษา       4. ทำความสะอาดอุปกรณ์ ของใช้ ของเล่น เป็นประจำทุกสัปดาห์และทุกครั้งที่ี่มีเด็กป่วย หากพบอีกว่าในห้องเรียนเดียวกันมีเด็กป่วยมากกว่า 2 ราย ใน 1 สัปดาห์ ควรพิจารณาปิดห้องเรียนนั้น และดำเนินการตามแนวทางป้องกันควบคุมโรคหรือหากพบเด็กป่วยมากกว่า 1 ห้องเรียน ให้พิจารณาปิดสถานที่ดังกล่าวชั่วคราว อย่างน้อย 5 วันทำการ และดำเนินการตามแนวทางป้องกันควบคุมโรคอย่างเข้มข้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อควบคุม ป้องกัน โรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2.เพื่อเฝ้าระวังโรคมือ เท้า ปาก ไม่ให้มีการแพร่ระบาดจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและในโรงเรียนไปสู่ชุมชน 3.เพื่อให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้เกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก สามารถควบคุมและป้องกันโรคได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่มีการเฝ้า โรคมือ เท้า ปาก อย่างต่อเนื่อง
    2. อัตราป่วยด้วยโรคมือเท้าปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลดลง และไม่เกิดการระบาดของโรคสู่ชุมชน
    3. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้ สามารถควบคุมและป้องกันโรคมือเท้าปากได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อควบคุม ป้องกัน โรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2.เพื่อเฝ้าระวังโรคมือ เท้า ปาก ไม่ให้มีการแพร่ระบาดจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและในโรงเรียนไปสู่ชุมชน 3.เพื่อให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้เกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก สามารถควบคุมและป้องกันโรคได้
    ตัวชี้วัด : 1. อัตราการป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลดลง 2. การควบคุมและป้องกันโรคไม่ให้แพร่กระจายสู่ชุมชน 3. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจและสามารถควบคุมปัองกันโรคได้
    1.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อควบคุม  ป้องกัน  โรคมือ  เท้า  ปาก  ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  2.เพื่อเฝ้าระวังโรคมือ เท้า ปาก ไม่ให้มีการแพร่ระบาดจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและในโรงเรียนไปสู่ชุมชน 3.เพื่อให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้เกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก สามารถควบคุมและป้องกันโรคได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการควบคุมและป้องกันโรคมือเท้าปาก ประจำปี 2561 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 61-L3313-1-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวสุมาลีสุวรรณชนะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด