กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ


“ โครงการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตชุมชนนักปฏิบัติ แบบองค์รวม ”

ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา (นายอดุลย์ เร็งมา)

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตชุมชนนักปฏิบัติ แบบองค์รวม

ที่อยู่ ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2498-01-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2561 ถึง 10 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตชุมชนนักปฏิบัติ แบบองค์รวม จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตชุมชนนักปฏิบัติ แบบองค์รวม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตชุมชนนักปฏิบัติ แบบองค์รวม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2498-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2561 - 10 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,925.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างสุขภาพจิตที่ดีถือเป็นกลยุทธ์ที่เสริมสร้างศัพยภาพของภาคประชาชนและเครือข่ายชุมชนในการดูแลสุขภาพจิต เข้าถึงบริการสุขภาพจิต และให้โอกาสผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิตเสริมพลังศักยภาพโดยการบูรณาการการดูแลสุขภาพจิตเข้าสู่ระบบสาธารณสุขตลอดจนเสริมสร้างความเข็มแข็งให้แก่เครือข่ายบริการสุขภาพจิต (DHS)เครือข่ายผู้ดูแลผู้ที่มีปัญหาด้านสุขภาพจิตในเขตตำบลยี่งอมีการดำเนินงานมามากพอสมควรแต่ยังไม่ครอบคลุมทุกหมู่บ้านหลักการของงานสุขภาพจิตชุมชนคือการให้บริการแก่ชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน และสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน นอกจากนี้งานสุขภาพจิตชุมชนมีเป้าหมาย ได้แก่ โรงเรียน และองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น แกนนำชุมชน ผู้นำศาสนา นอกจากนี้ การเข้าถึงบริการจิตเวชที่มารับบริการที่แผนกสุขภาพจิตชุมชนในปี 2559 จำนวน 218 ราย ปี 2560 จำนวน 345 ราย ปี 2561 จำนวน 345 ราย ในเขตรับผิดชอบของเทศบาลตำบลยี่งอมีผู้ป่วยทางจิตในปี 2559 จำนวน 17 รายในปี 2560 จำนวน 20 รายและในปี 2561 จำนวน 22 ราย จะเห็นได้ว่าการเข้าถึงโรคจิตเพิ่มขึ้นจำนวนมากในแต่ละปี ดังนั้นงานสุขภาพจิตชุมชน โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษาจึงจำเป็นที่ต้องพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในเรื่องการดูแลติดตามให้ความรู้แก่ชุมชนได้และสิ่งที่ต้องพัฒนาต่อไปนี้คือ 1.พัฒนาสัดส่วนเครือข่ายบริการสุขภาพจิตให้เหมาะสมกับบริบทชุมชน เช่น การฟื้นฟูสมรรถภาพ การดูแลต่อเนื่องจากโรงพยาบาล การบริการเยี่ยมบ้าน และ การให้บริการฉุกเฉินทางจิตเวชในชุมชน 2.เสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่เครือข่ายสุขภาพจิตชุมชนในท้องถิ่น สนับสนุนการบริการร่วมกับองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นสร้างสุขภาพร่วมกัน สู่ภาคประชาชนได้แบบบูรณาการ (DHS) อย่างยั่งยืน 3.เครือข่ายในชุมชนมีการสนับสนุนให้ความรู้สุขภาพจิตมากขึ้น ลดอคติและการแบ่งแยกกีดกันผู้ป่วยจิตเวชและครอบครัวจำเป็นจะต้องมีความรู้มีทักษะ และการให้คำแนะนำ ที่ถูกต้องรวมทั้งเป็นแบบอย่่างที่ดีในเรื่องการสร้างสุขภาพบริการสุขภาพจิตชุมชนที่ยั่งยืนระดับอำเภอต่อไป ดังนั้น งานสุขภาพจิตชุมชน โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา จึงได้จัดโครงการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตชุมชนนักปฏิบัติ แบบองค์รวมการใช้กิจกรรม HUGS เพื่อนำไปสู่รูปแบบกิจกรรมที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อบูรณาการสร้างสุขภาพจิตดีสู่อำเภอยี่งอโดยชุมชนมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง ของภาคีเครือข่าย
  2. เพื่อสร้างกระแสการสร้างสุขภาพจิตดีของประชาชนในพื้นที่
  3. สนับสนุนองค์ความรู้ที่ถูกต้อง ปรับทัศนคติ ลดอคติ แก่เครือข่ายชุมช ต่อผู้ป่วยทางจิตในชุมชนนำไปสู่การรักษาต่อไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.เกิดการบูรณาร่วมกันสร้างสุขภาพจิต สู่ชุมชน เพิ่มความเข้มแข็ง ของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน 2.สามารถสร้างกระแสเพิ่มความตระหนักในชุมชน 3.เกิดนวัตกรรมวิชาการด้านสุขภาพจิตสู่ชุมชน 4.กลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าร่วมโครงการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตชุมชนนักปฏิบัติ แบบองค์รวม ร้อยละ 80


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อบูรณาการสร้างสุขภาพจิตดีสู่อำเภอยี่งอโดยชุมชนมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง ของภาคีเครือข่าย
    ตัวชี้วัด : มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานระดับอำเภอ
    0.00

     

    2 เพื่อสร้างกระแสการสร้างสุขภาพจิตดีของประชาชนในพื้นที่
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
    0.00

     

    3 สนับสนุนองค์ความรู้ที่ถูกต้อง ปรับทัศนคติ ลดอคติ แก่เครือข่ายชุมช ต่อผู้ป่วยทางจิตในชุมชนนำไปสู่การรักษาต่อไป
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจร้อยละ 80
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อบูรณาการสร้างสุขภาพจิตดีสู่อำเภอยี่งอโดยชุมชนมีส่วนร่วมและความเข้มแข็ง ของภาคีเครือข่าย (2) เพื่อสร้างกระแสการสร้างสุขภาพจิตดีของประชาชนในพื้นที่ (3) สนับสนุนองค์ความรู้ที่ถูกต้อง ปรับทัศนคติ ลดอคติ แก่เครือข่ายชุมช ต่อผู้ป่วยทางจิตในชุมชนนำไปสู่การรักษาต่อไป

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตชุมชนนักปฏิบัติ แบบองค์รวม จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 61-L2498-01-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา (นายอดุลย์ เร็งมา) )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด