กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหมอศรี


“ ส่งเสริมการนวดแผนไทย(นวดฝ่าเท้า) ”

ตำบลนาหมอศรี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางนงลักษณ์มากนวล

ชื่อโครงการ ส่งเสริมการนวดแผนไทย(นวดฝ่าเท้า)

ที่อยู่ ตำบลนาหมอศรี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมการนวดแผนไทย(นวดฝ่าเท้า) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาหมอศรี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหมอศรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมการนวดแผนไทย(นวดฝ่าเท้า)



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมการนวดแผนไทย(นวดฝ่าเท้า) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาหมอศรี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหมอศรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การนวดฝ่าเท้า เป็นการนวดเพื่อส่งเสริมสุขภาพร่างกายและจิตใจแล้ว ยังสามารถใช้ในการบำบัดอาการ

ของโรคบางโรคได้ ปัจจุบันไม่สามารถบำบัดอาการและความต้องการบางอย่างของผู้ป่วยได้ การนวดฝ่าเท้าจึงใช้

ในการดูแลสุขภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้การส่งเสริมให้มีการนวดฝ่าเท้ายังเป็นการพึ่งพาตนเองในการดูแลสุขภาพ

แบบพอเพียงที่ควรส่งเสริมให้เกิดขึ้น อันจะเป็นการช่วยให้ประหยัดและทำให้มีรายได้

นอกจากนี้เจตจำนงของแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564 ที่มุ่งเน้นการพัฒนา

ศักยภาพของประชาชน ในการพึ่งพาตนเองในด้านการดูแลสุขภาพ โดยมีเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ในการพัฒนา

ระบบการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้ให้มีมาตรฐานนั้น ยังเป็นสิ่งย้ำภารกิจของบุคคลด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ

เป็นอย่างดี

การนวดฝ่าเท้าถือเป็นศาสตร์การแพทย์ทางเลือกแขนงหนึ่ง ซึ่งสืบทอดกันมาแต่โบราณมีผู้นิยมและ

ให้ความสนใจในศาสตร์นี้มากขึ้นจนเป็นที่แพร่หลายทั่วไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ เมื่อการนวดฝ่าเท้า

มีความสำคัญและบทบาทมากขึ้นดังกล่าว จึงเห็นสมควรที่จะกำหนดให้มีการฝึกอบรมนักเรียนให้มีมาตรฐาน

เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นในด้านคุณภาพและความปลอดภัยทั้งผู้ให้บริการและผู้รับบริการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1ให้ความรู้เกี่ยวกับการนวดฝ่าเท้าขั้นพื้นฐาน 2.ให้ความรู้เรื่องการผสมนำ้มันและฝึกปฏิบัติผสมนำ้มันสำหรับนวดฝ่าเท้า3.วิทยากรสาธิตนวดฝ่าเท้า 4.นักเียนฝึกปฏิบัตินวดฝ่าเท้าโดยจับคู่ผลัดเปลี่ยนกัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 73
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีทักษะการนวดฝ่าเท้าและสามารถนำไปปฏิบัติได้ทุกคน

  2. นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากร มีความสัมพันธ์อันดีมีความใกล้ชิดกันมากขึ้น

  3. นักเรียนมีทักษะการนวดฝ่าเท้าและสามารถนำไปหารายได้ระหว่างเรียนได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 73
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 73
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1ให้ความรู้เกี่ยวกับการนวดฝ่าเท้าขั้นพื้นฐาน 2.ให้ความรู้เรื่องการผสมนำ้มันและฝึกปฏิบัติผสมนำ้มันสำหรับนวดฝ่าเท้า3.วิทยากรสาธิตนวดฝ่าเท้า 4.นักเียนฝึกปฏิบัตินวดฝ่าเท้าโดยจับคู่ผลัดเปลี่ยนกัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมการนวดแผนไทย(นวดฝ่าเท้า) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนงลักษณ์มากนวล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด