โครงการปลอดโรคปลอดภัยป้องกันโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 8
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปลอดโรคปลอดภัยป้องกันโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 8 ”
หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางมณฑิรา รมณารักษ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการปลอดโรคปลอดภัยป้องกันโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 8
ที่อยู่ หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปลอดโรคปลอดภัยป้องกันโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 8 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปลอดโรคปลอดภัยป้องกันโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 8
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปลอดโรคปลอดภัยป้องกันโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 8 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การบริโภคอาหารอย่างพอเพียงและถูกต้องตามหลักโภชนาการ นับเป็นเรื่องที่ทุกคนต้องตระหนักเป็นอย่างยิ่ง และดูแลเอาใจใส่การบริโภค คัดเลือกอย่างจริงจัง เพื่อการมีสุขภาพที่ดี แต่ทุกวันนี้ประเทศไทยกลับมีปัญหาด้านโภชนาการเพิ่มมากขึ้นทำให้ประชาชนขาดการเอาใส่ใจดูแล ควบคุม และป้องกันปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมและฟุ่มเฟือย นิยมบริโภคอาหารขยะหรือจั๊งค์ฟู้ด (Junk Food) ที่มีส่วนประกอบหลัก ซึ่งประกอบด้วยแป้ง น้ำตาล น้ำมัน ไขมัน ผงชูรส และเกลือมากขึ้น แต่มีสารอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของร่างกายและสติปัญญาอยู่ในปริมาณน้อยมาก ได้แก่ อาหารประเภทฟาสต์ฟูด อาหารสำเร็จรูป อาหารจานด่วน อาหารทอด อาหารขบเคี้ยว ลูกอม หมากฝรั่ง ขนมหวาน น้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวาน เป็นต้น ทั้งนี้เพราะสามารถหาซื้อได้ง่าย สะดวกส่วนการประกอบอาหารกินเองที่บ้าน และการปลูกผักไว้กินเองมีลดน้อยลง ประชาชนส่วนใหญ่รับประทานอาหารประเภทผักและผลไม้น้อยลง ขาดการออกกำลังกาย มีภาวะความเครียดเรื้อรัง ไม่สามารถจัดการอารมณ์ได้ มีพฤติกรรมการสูบบุหรี่ และดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์มากขึ้น
เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง มีพฤติกรรมการดูแลตนเองเป็นสิ่งสำคัญมาก ทั้งเรื่องพฤติกรรมการรับประทานอาหารการกินยาการออกกำลังกาย และด้านอารมณ์มีความสำคัญมากในการป้องกันการเกิดโรคและลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง ทางเทศบาลตำบลบ้านไร่ เห็นความสำคัญจึงให้ประชาชนหมู่ที่ ๘ หันมาสนใจในการปลูกผักในการรับประทานเองเป็นการบูรณาการให้ชุมชนปรัติกรรมการบริโภคหรือหันกลับมาดำเนินชีวิตเศรษฐกิจแบบพอเพียงในการป้องกันโรค เสี่ยงต่อการรับสารพิษจากพืชผักเพิ่มขึ้นเน้นในด้านการป้องกันมากกว่าการรักษาพยาบาลและให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในชุมชนสามารถใช้ชีวิตอยู่กับโรคและสามารถดูแลสุขภาพได้อย่างถูกวิธีแบบพึ่งพาตนเอง ไม่ต้องพึ่งยามาก เกินความจำเป็น และการปลูกผักปลอดสารพิษผักอินทรีย์ รั้วกินได้ ใช้ผักพื้นบ้านที่มีในชุมชนซึ่งสรรพคุณมีส่วนในการป้องกันและลดการเกิดโรคความดันและเบาหวาน และปลอดภัยจากสารพิษใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ส่งเสริมความรักความสามัคคีในชุมชนและนำเศษขยะมาเป็นปุ๋ยชีวภาพอีกทั้งยังสามารถแก้ปัญหาทางจิตใจ และมีการแลกเปลี่ยนผักที่มีเหลือในครัวเรือนในการรับประทานกับครัวเรือนอื่นในชุมชนทำให้มีการบริโภคผักที่หลากหลายชนิดและช่วยป้องกันการเกิดโรคความดัน เบาหวานและมีความปลอดภัยจากการใช้สารเคมี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปในพื้นที่หมู่ที่ ๘ บ้านคลองปอม ได้รับการตรวจคัดกรองป้องกันโรคเรื้อรัง
- 2 เพื่อให้ประชาชนในท้องถิ่นมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
- 3 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น
- 4 ลดอัตราการการเกิดโรคความดันและเบาหวาน
- 5 ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ ผักอินทรีย์ รับประทานป้องกันการเกิดโรคต่าง ๆ
- 6 เพื่อป้องกันโรคเรื้อรังในหมู่ที่ ๘ ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1ประชาชนมีสุขภาพที่มีผู้ป่วยเรื้อรังลดลง ลดภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพจากการบริโภคพืชผักปนเปื้อนสารพิษ
2ประชาชนในท้องถิ่นมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
3ประชาชนในชุมชนมีการเปลี่ยนแปลงด้านสุภาพที่ดี มีการบริโภคผักเพิ่มขึ้น
4ส่งเสริมให้คนในชุมชนได้บริโภคผักที่สะอาด และปลอดภัย
5ประชาชนรับประทานพืช ผักพื้นบ้านเป็นยา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปในพื้นที่หมู่ที่ ๘ บ้านคลองปอม ได้รับการตรวจคัดกรองป้องกันโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด :
0.00
2
2 เพื่อให้ประชาชนในท้องถิ่นมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด :
0.00
3
3 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด :
0.00
4
4 ลดอัตราการการเกิดโรคความดันและเบาหวาน
ตัวชี้วัด :
0.00
5
5 ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ ผักอินทรีย์ รับประทานป้องกันการเกิดโรคต่าง ๆ
ตัวชี้วัด :
0.00
6
6 เพื่อป้องกันโรคเรื้อรังในหมู่ที่ ๘ ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปในพื้นที่หมู่ที่ ๘ บ้านคลองปอม ได้รับการตรวจคัดกรองป้องกันโรคเรื้อรัง (2) 2 เพื่อให้ประชาชนในท้องถิ่นมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (3) 3 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น (4) 4 ลดอัตราการการเกิดโรคความดันและเบาหวาน (5) 5 ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ ผักอินทรีย์ รับประทานป้องกันการเกิดโรคต่าง ๆ (6) 6 เพื่อป้องกันโรคเรื้อรังในหมู่ที่ ๘ ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปลอดโรคปลอดภัยป้องกันโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 8 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางมณฑิรา รมณารักษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปลอดโรคปลอดภัยป้องกันโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 8 ”
หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางมณฑิรา รมณารักษ์
กันยายน 2561
ที่อยู่ หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปลอดโรคปลอดภัยป้องกันโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 8 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปลอดโรคปลอดภัยป้องกันโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 8
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปลอดโรคปลอดภัยป้องกันโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 8 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การบริโภคอาหารอย่างพอเพียงและถูกต้องตามหลักโภชนาการ นับเป็นเรื่องที่ทุกคนต้องตระหนักเป็นอย่างยิ่ง และดูแลเอาใจใส่การบริโภค คัดเลือกอย่างจริงจัง เพื่อการมีสุขภาพที่ดี แต่ทุกวันนี้ประเทศไทยกลับมีปัญหาด้านโภชนาการเพิ่มมากขึ้นทำให้ประชาชนขาดการเอาใส่ใจดูแล ควบคุม และป้องกันปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมและฟุ่มเฟือย นิยมบริโภคอาหารขยะหรือจั๊งค์ฟู้ด (Junk Food) ที่มีส่วนประกอบหลัก ซึ่งประกอบด้วยแป้ง น้ำตาล น้ำมัน ไขมัน ผงชูรส และเกลือมากขึ้น แต่มีสารอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของร่างกายและสติปัญญาอยู่ในปริมาณน้อยมาก ได้แก่ อาหารประเภทฟาสต์ฟูด อาหารสำเร็จรูป อาหารจานด่วน อาหารทอด อาหารขบเคี้ยว ลูกอม หมากฝรั่ง ขนมหวาน น้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวาน เป็นต้น ทั้งนี้เพราะสามารถหาซื้อได้ง่าย สะดวกส่วนการประกอบอาหารกินเองที่บ้าน และการปลูกผักไว้กินเองมีลดน้อยลง ประชาชนส่วนใหญ่รับประทานอาหารประเภทผักและผลไม้น้อยลง ขาดการออกกำลังกาย มีภาวะความเครียดเรื้อรัง ไม่สามารถจัดการอารมณ์ได้ มีพฤติกรรมการสูบบุหรี่ และดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์มากขึ้น เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง มีพฤติกรรมการดูแลตนเองเป็นสิ่งสำคัญมาก ทั้งเรื่องพฤติกรรมการรับประทานอาหารการกินยาการออกกำลังกาย และด้านอารมณ์มีความสำคัญมากในการป้องกันการเกิดโรคและลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง ทางเทศบาลตำบลบ้านไร่ เห็นความสำคัญจึงให้ประชาชนหมู่ที่ ๘ หันมาสนใจในการปลูกผักในการรับประทานเองเป็นการบูรณาการให้ชุมชนปรัติกรรมการบริโภคหรือหันกลับมาดำเนินชีวิตเศรษฐกิจแบบพอเพียงในการป้องกันโรค เสี่ยงต่อการรับสารพิษจากพืชผักเพิ่มขึ้นเน้นในด้านการป้องกันมากกว่าการรักษาพยาบาลและให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในชุมชนสามารถใช้ชีวิตอยู่กับโรคและสามารถดูแลสุขภาพได้อย่างถูกวิธีแบบพึ่งพาตนเอง ไม่ต้องพึ่งยามาก เกินความจำเป็น และการปลูกผักปลอดสารพิษผักอินทรีย์ รั้วกินได้ ใช้ผักพื้นบ้านที่มีในชุมชนซึ่งสรรพคุณมีส่วนในการป้องกันและลดการเกิดโรคความดันและเบาหวาน และปลอดภัยจากสารพิษใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ส่งเสริมความรักความสามัคคีในชุมชนและนำเศษขยะมาเป็นปุ๋ยชีวภาพอีกทั้งยังสามารถแก้ปัญหาทางจิตใจ และมีการแลกเปลี่ยนผักที่มีเหลือในครัวเรือนในการรับประทานกับครัวเรือนอื่นในชุมชนทำให้มีการบริโภคผักที่หลากหลายชนิดและช่วยป้องกันการเกิดโรคความดัน เบาหวานและมีความปลอดภัยจากการใช้สารเคมี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปในพื้นที่หมู่ที่ ๘ บ้านคลองปอม ได้รับการตรวจคัดกรองป้องกันโรคเรื้อรัง
- 2 เพื่อให้ประชาชนในท้องถิ่นมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
- 3 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น
- 4 ลดอัตราการการเกิดโรคความดันและเบาหวาน
- 5 ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ ผักอินทรีย์ รับประทานป้องกันการเกิดโรคต่าง ๆ
- 6 เพื่อป้องกันโรคเรื้อรังในหมู่ที่ ๘ ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1ประชาชนมีสุขภาพที่มีผู้ป่วยเรื้อรังลดลง ลดภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพจากการบริโภคพืชผักปนเปื้อนสารพิษ
2ประชาชนในท้องถิ่นมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
3ประชาชนในชุมชนมีการเปลี่ยนแปลงด้านสุภาพที่ดี มีการบริโภคผักเพิ่มขึ้น
4ส่งเสริมให้คนในชุมชนได้บริโภคผักที่สะอาด และปลอดภัย
5ประชาชนรับประทานพืช ผักพื้นบ้านเป็นยา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปในพื้นที่หมู่ที่ ๘ บ้านคลองปอม ได้รับการตรวจคัดกรองป้องกันโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | 2 เพื่อให้ประชาชนในท้องถิ่นมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | 3 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
4 | 4 ลดอัตราการการเกิดโรคความดันและเบาหวาน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
5 | 5 ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ ผักอินทรีย์ รับประทานป้องกันการเกิดโรคต่าง ๆ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
6 | 6 เพื่อป้องกันโรคเรื้อรังในหมู่ที่ ๘ ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปในพื้นที่หมู่ที่ ๘ บ้านคลองปอม ได้รับการตรวจคัดกรองป้องกันโรคเรื้อรัง (2) 2 เพื่อให้ประชาชนในท้องถิ่นมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (3) 3 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น (4) 4 ลดอัตราการการเกิดโรคความดันและเบาหวาน (5) 5 ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ ผักอินทรีย์ รับประทานป้องกันการเกิดโรคต่าง ๆ (6) 6 เพื่อป้องกันโรคเรื้อรังในหมู่ที่ ๘ ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปลอดโรคปลอดภัยป้องกันโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 8 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางมณฑิรา รมณารักษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......