โครงการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคหัดในโรงเรียนส่งเสริมอิสลามศึกษา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคหัดในโรงเรียนส่งเสริมอิสลามศึกษา ”
ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ
มกราคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคหัดในโรงเรียนส่งเสริมอิสลามศึกษา
ที่อยู่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3066-05-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มกราคม 2560 ถึง 20 มกราคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคหัดในโรงเรียนส่งเสริมอิสลามศึกษา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคหัดในโรงเรียนส่งเสริมอิสลามศึกษา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคหัดในโรงเรียนส่งเสริมอิสลามศึกษา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3066-05-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มกราคม 2560 - 20 มกราคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคติดต่อเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายและเพิ่มจำนวนในร่างกาย อาการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นเกิดจากตัวเชื้อโรคหรือจากพิษที่เชื้อโรคนั้น เชื้อโรคจะติดต่อถ่ายทอดจากผู้ป่วยโดยตรงหรือโดยอ้อมไปสู่คนปกติ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าโรคติดเชื้อ เมื่อมีการถ่ายทอดไปยังผู้อื่นแสดงว่ามีการะบาดของโรคนั้นขึ้นและจะมีมากขึ้นเรื่อยๆ จึงต้องมีมาตรการควบคุมที่เคร่งครัดและการป้องการที่ได้มาตรฐานเพื่อลดอัตราการป่วยตายและการแพร่กระจายของโรคที่เกิดขึ้น
เมื่อวันพุธ ที่ 18 มกราคม 2560 เวลา 15.00 น. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตันหยงเปาว์ ได้รับแจ้งจากทีมเฝ้าระวังสวบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT)อำเภอหนองจิก ว่ามีผู้ป่วยด้วยโรคหัดในพื้นที่เขตรับผิดชอบ จำนวน2 ราย เป็นเด็กนักเรียนชั้นอนุบาล โรงเรียนส่งเสริมอิสลามศึกษา และเวลา 17.20 น. ได้รับรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัดจากโรงพยาบาลหนองจิก จำนวน 3 ราย และจากโรงพยาบาลโคกโพธิ์ จำนวน 3 ราย ทั้งหมดมีความเชื่อมโยงกันกับการระบาดในโรงเรียนส่งเสริมอิสลามศึกษา ในวันพฤหัสบดีที่ 19 มกราคม 2560 เวลา 10.00 น. ทีมเฝ้าระวังสวบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT)จังหวัดปัตตานีร่วมกับทีมเฝ้าระวังสวบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT)อำเภอหนองจิก เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตันหยงเปาว์และอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตรับผิดชอบได้ทำการสอบสวนโรคในพื้นที่ที่เกิดขึ้น ผลการสอบสวนโรคพบว่ามีอีกหลายรายที่สงสัยป่วยด้วยโรคหัดและเกิดขึ้นกับผู้ป่วย 3 ตำบล ได้แก่ ตำบลท่ากำชำ บางเขาและคอลอตันหยง
การระบาดของโรคหัดในอำเภอหนองจิกมีจำนวนทั้งหมด 12 ราย เป็นเพศชายจำนวน 3 ราย เพศหญิงจำนวน 9 ราย แยกเป็นกลุ่มอายุ 0-4 ปี จำนวน 10 ราย อายุ 5-9 ปี จำนวน 1 ราย และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ จำนวน 1 ราย ผู้ป่วยมีอาการไข้ ไอ ตาแดง มีผื่นแดงตามตัว และบางรายมีอาการอุจจาระร่วงร่วมด้วย ผู้ป่วย บางรายไม่มีประวัติการรับวัคซีนและบางรายได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ ดั้งนั้นทางทีมเฝ้าระวังสวบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) ได้ทำการฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัดแก่ผู้สัมผัสและกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่โรงเรียนส่งเสริมอิสลามศึกษาและทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตันหยงเปาว์และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้ทำการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนอีกครั้ง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อควบคุมการระบาดและการแพร่กระจายของโรคติดต่อ
- 2. เพื่อลดอัตราการป่วยตายด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
- 3. เพื่อป้องกันความรุ่นแรงของโรคติดต่อที่จะเกิดขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ไม่มีการระบาดของโรคติดต่อซ้ำในพื้นที่
- อัตราการป่วย/ตายด้วยโรคติดต่อลดลง
- ผู้ปกครองและครูมีตะหนักถึงการรับวัคซีนป้องกันโรคของเด็กนักเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
เป้าหมาย : 840 คน
1.ผู้ที่เข้าร่วมโครงการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคหัดไม่มีการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่
2.พบว่าอัตราการป่วย/ตายลดลง
3.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการฉีดวัคซีนทุกคน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อควบคุมการระบาดและการแพร่กระจายของโรคติดต่อ
ตัวชี้วัด :
2
2. เพื่อลดอัตราการป่วยตายด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด :
3
3. เพื่อป้องกันความรุ่นแรงของโรคติดต่อที่จะเกิดขึ้น
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อควบคุมการระบาดและการแพร่กระจายของโรคติดต่อ (2) 2. เพื่อลดอัตราการป่วยตายด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (3) 3. เพื่อป้องกันความรุ่นแรงของโรคติดต่อที่จะเกิดขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคหัดในโรงเรียนส่งเสริมอิสลามศึกษา จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3066-05-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคหัดในโรงเรียนส่งเสริมอิสลามศึกษา ”
ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
มกราคม 2560
ที่อยู่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3066-05-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มกราคม 2560 ถึง 20 มกราคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคหัดในโรงเรียนส่งเสริมอิสลามศึกษา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคหัดในโรงเรียนส่งเสริมอิสลามศึกษา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคหัดในโรงเรียนส่งเสริมอิสลามศึกษา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3066-05-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มกราคม 2560 - 20 มกราคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคติดต่อเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายและเพิ่มจำนวนในร่างกาย อาการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นเกิดจากตัวเชื้อโรคหรือจากพิษที่เชื้อโรคนั้น เชื้อโรคจะติดต่อถ่ายทอดจากผู้ป่วยโดยตรงหรือโดยอ้อมไปสู่คนปกติ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าโรคติดเชื้อ เมื่อมีการถ่ายทอดไปยังผู้อื่นแสดงว่ามีการะบาดของโรคนั้นขึ้นและจะมีมากขึ้นเรื่อยๆ จึงต้องมีมาตรการควบคุมที่เคร่งครัดและการป้องการที่ได้มาตรฐานเพื่อลดอัตราการป่วยตายและการแพร่กระจายของโรคที่เกิดขึ้น เมื่อวันพุธ ที่ 18 มกราคม 2560 เวลา 15.00 น. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตันหยงเปาว์ ได้รับแจ้งจากทีมเฝ้าระวังสวบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT)อำเภอหนองจิก ว่ามีผู้ป่วยด้วยโรคหัดในพื้นที่เขตรับผิดชอบ จำนวน2 ราย เป็นเด็กนักเรียนชั้นอนุบาล โรงเรียนส่งเสริมอิสลามศึกษา และเวลา 17.20 น. ได้รับรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัดจากโรงพยาบาลหนองจิก จำนวน 3 ราย และจากโรงพยาบาลโคกโพธิ์ จำนวน 3 ราย ทั้งหมดมีความเชื่อมโยงกันกับการระบาดในโรงเรียนส่งเสริมอิสลามศึกษา ในวันพฤหัสบดีที่ 19 มกราคม 2560 เวลา 10.00 น. ทีมเฝ้าระวังสวบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT)จังหวัดปัตตานีร่วมกับทีมเฝ้าระวังสวบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT)อำเภอหนองจิก เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตันหยงเปาว์และอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตรับผิดชอบได้ทำการสอบสวนโรคในพื้นที่ที่เกิดขึ้น ผลการสอบสวนโรคพบว่ามีอีกหลายรายที่สงสัยป่วยด้วยโรคหัดและเกิดขึ้นกับผู้ป่วย 3 ตำบล ได้แก่ ตำบลท่ากำชำ บางเขาและคอลอตันหยง การระบาดของโรคหัดในอำเภอหนองจิกมีจำนวนทั้งหมด 12 ราย เป็นเพศชายจำนวน 3 ราย เพศหญิงจำนวน 9 ราย แยกเป็นกลุ่มอายุ 0-4 ปี จำนวน 10 ราย อายุ 5-9 ปี จำนวน 1 ราย และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ จำนวน 1 ราย ผู้ป่วยมีอาการไข้ ไอ ตาแดง มีผื่นแดงตามตัว และบางรายมีอาการอุจจาระร่วงร่วมด้วย ผู้ป่วย บางรายไม่มีประวัติการรับวัคซีนและบางรายได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ ดั้งนั้นทางทีมเฝ้าระวังสวบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) ได้ทำการฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัดแก่ผู้สัมผัสและกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่โรงเรียนส่งเสริมอิสลามศึกษาและทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตันหยงเปาว์และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้ทำการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนอีกครั้ง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อควบคุมการระบาดและการแพร่กระจายของโรคติดต่อ
- 2. เพื่อลดอัตราการป่วยตายด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
- 3. เพื่อป้องกันความรุ่นแรงของโรคติดต่อที่จะเกิดขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ไม่มีการระบาดของโรคติดต่อซ้ำในพื้นที่
- อัตราการป่วย/ตายด้วยโรคติดต่อลดลง
- ผู้ปกครองและครูมีตะหนักถึงการรับวัคซีนป้องกันโรคของเด็กนักเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
เป้าหมาย : 840 คน 1.ผู้ที่เข้าร่วมโครงการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคหัดไม่มีการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่ 2.พบว่าอัตราการป่วย/ตายลดลง 3.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการฉีดวัคซีนทุกคน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อควบคุมการระบาดและการแพร่กระจายของโรคติดต่อ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2. เพื่อลดอัตราการป่วยตายด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 3. เพื่อป้องกันความรุ่นแรงของโรคติดต่อที่จะเกิดขึ้น ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อควบคุมการระบาดและการแพร่กระจายของโรคติดต่อ (2) 2. เพื่อลดอัตราการป่วยตายด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (3) 3. เพื่อป้องกันความรุ่นแรงของโรคติดต่อที่จะเกิดขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคหัดในโรงเรียนส่งเสริมอิสลามศึกษา จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3066-05-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......