กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพิชิตโรคไข้เลือดออกด้วยสองมือเรา ”
ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลลาติฟ ยูโซ๊ะ




ชื่อโครงการ โครงการพิชิตโรคไข้เลือดออกด้วยสองมือเรา

ที่อยู่ ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-L3038-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มกราคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพิชิตโรคไข้เลือดออกด้วยสองมือเรา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตอหลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพิชิตโรคไข้เลือดออกด้วยสองมือเรา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพิชิตโรคไข้เลือดออกด้วยสองมือเรา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3038-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มกราคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,067.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตอหลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อซึ่งมียุงลายบ้านและยุงลายสวนเป็นแมลงพาหะนำโรคที่สำคัญการระบาดของโรคไขเลือดออกเกิดขึ้นนอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปีโดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนจะพบผู้ป่วยเป็นจำนวนมาก เนื่องจากฝนที่ตกลงมาทำให้เกิดน้ำขังในภาชนะต่างๆ จึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เพิ่มจำนวนประชากรยุงลายพาหะนำโรคได้เป็นอย่างดี การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพควรต้อง เตรียมพร้อมควบคุมการจัดยุงลายก่อนจะถึงช่วงฤดูการระบาดของโรคเพื่อลดจำนวนประชากรของยุงลายในพื้นที่และเพื่อทราบความเสี่ยงการเกิดโรคในพื้นที่ต่อไป ปัจจัยการระบาดที่สำคัญที่ทำให้มีการระบาดและมี การขยายพื้นที่ออกไปอย่างกว้างขวาง ได้แก่การเพิ่มจำ นวนของประชากรโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีชุมชน มีการเคลื่อนไหวของประชากรและมียุงลายมากขึ้นตามการเพิ่มของภาชนะขังน้า ที่มนุษย์สร้างขึ้น การคมนาคมที่สะดวกขึ้นทั้งทางบกและทางอากาศทา ให้การเดินทางมากขึ้นทั้งภายในและต่างประเทศ ปัจจัยเหล่านี้ทำให้เกิดการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสเดงกี่ เป็นไปอย่างรวดเร็วนอกจากนั้นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญต่อ การเกิดโรคไข้เลือดออกอีกประการหนึ่ง ได้แก่การที่พื้นที่มีเชื้อไวรัสเดงกี่ชุกชุมและมีมากกว่าหนึ่งชนิดใน เวลาเดียวกัน หรือการติดเชื้อมีผลต่อการระบาดและแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออกด้วย

จากการเก็บรวบรวมข้อมูลของเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตอหลังในพื้นที่โดยการสำรวจค่า BI CI และ HIพบว่าทั้ง 3 หมู่บ้าน ยังมีปัญหาอยู่มาก ปัญหาที่เราต้องเร่งแก้ปัญหาคือ โรคไข้เลือดออก เพราะจากการสำรวจดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลายยังพบว่ามีความชุกของลูกน้ำในเกณฑ์ที่สูงคือค่าHI เท่ากับ 62.86 เพราะประชาชนส่วนใหญ่ไม่ค่อยให้ความสนใจในการป้องกัน คิดว่าการป้องกันโรคเป็นหน้าที่ของฝ่ายสาธารณสุข ดังนั้นกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลตอหลังและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตอหลัง จึงตระหนักถึงสาเหตุของปัญหา หากไม่มีการควบคุมกำจัดลูกน้ำยุงลายให้ถูกต้องทันทีจะมีการระบาดของโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้านอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตของประชาชนเพิ่มจำนวนขึ้นอีกก็เป็นได้

ดังนั้นจึงจำเป็นที่เราจะต้องป้องกันและรณรงค์ให้ทุกคนตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกโดยวิธีกำจัดลูกน้ำยุงลายและกำจัดตัวยุงลายทั้งวิธีกายภาพ และชีวภาพและทางเคมีในบ้านและโรงเรียนดังนั้นโอกาสที่จะเกิดไข้เลือดออกก็จะลดน้อยลงด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลตอหลังมีความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกัน
  2. เพื่อเป็นการควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    -ลดอัตราป่วยไม่เกินร้อยละ 50 ต่อแสนประชากร -ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความตระหนักในเรื่องโรคไข้เลือดออกสามารถควบคุมและเฝ้าระวังการเกิดโรคไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อให้มีความเข้าใจในแนวเดียวกัน

    วันที่ 8 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รับทราบนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อให้มีความเข้าใจในแนวเดียวกัน

     

    15 15

    2. อบรมให้ความรู้เด็กนักเรียน,โรงเรียนบ้านดูซงปาแย

    วันที่ 10 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลดอัตราป่วยไม่เกินร้อยละ 50 ต่อแสนประชากร ประชาชนในพื้นที่มีความรู้  ความตระหนักในเรื่องโรคไข้เลือดออก  สามารถควบคุมและเฝ้าระวังการเกิดโรคไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ

     

    116 116

    3. อบรมให้ความรู้แก่แกนนำครอบครัว

    วันที่ 18 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลดอัตราป่วยไม่เกินร้อยละ 50 ต่อแสนประชากร -ประชาชนในพื้นที่มีความรู้  ความตระหนักในเรื่องโรคไข้เลือดออก  สามารถควบคุมและเฝ้าระวังการเกิดโรคไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ

     

    65 65

    4. เดินรณรงค์(จัดขบวนพาเหรด)

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลดอัตราป่วยไม่เกินร้อยละ 50 ต่อแสนประชากร -ประชาชนในพื้นที่มีความรู้  ความตระหนักในเรื่องโรคไข้เลือดออก  สามารถควบคุมและเฝ้าระวังการเกิดโรคไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ

     

    165 165

    5. จัดจ้างพ่นหมอกควันในสถานที่ราชการ มัสยิด โรงเรียน ตาดีกา และบ้านผู้ป่วย

    วันที่ 29 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลดอัตราป่วยไม่เกินร้อยละ 50 ต่อแสนประชากร -ประชาชนในพื้นที่มีความรู้  ความตระหนักในเรื่องโรคไข้เลือดออก  สามารถควบคุมและเฝ้าระวังการเกิดโรคไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลตอหลังมีความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกัน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อเป็นการควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลตอหลังมีความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกัน (2) เพื่อเป็นการควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพิชิตโรคไข้เลือดออกด้วยสองมือเรา จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-L3038-1-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอับดุลลาติฟ ยูโซ๊ะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด