โครงการชุมชนมีส่วนร่วมดูแลสิ่งแวดล้อมสู่ชุมชนสีเขียว
ชื่อโครงการ | โครงการชุมชนมีส่วนร่วมดูแลสิ่งแวดล้อมสู่ชุมชนสีเขียว |
รหัสโครงการ | 60-8287-2-1 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | คณะกรรมการธนาคารขยะหมู่ที่ 4 ตำบลเทพา |
วันที่อนุมัติ | 14 ธันวาคม 2559 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 15 กุมภาพันธ์ 2560 - 15 สิงหาคม 2560 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2560 |
งบประมาณ | 30,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายประยูรหะยีดามันประธานกรรมการธนาคารขยะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางมารีนาหลำสะนวก.สาธาธารณสุขชำนาญการ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.82,100.94place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 มี.ค. 2560 | 30 ก.ย. 2560 | 30,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 30,000.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 210 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพของบุคคลในชุมชนคือการร่วมกิจกรรมที่เอื้ออำนวยให้ผู้คนในชุมชนมีพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี ถือเป็นบทบาทที่สำคัญของคณะกรรมการขยะหมุ่ที่ 4 ตำบลเทพา เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ "ไร้ขยะ ไร้ความจน ด้วยสามัคคีคนหมู่ 4"
คณะกรรมการขยะหมู่4 ตำบลเทพา มีเป้าประสงค์ให้คนในชุมชนเกิดความตระหนักถึงการป้องกันโรคและสามารถดูแลสุขภาพตนเองว ครอบครัว และชุมชนได้ โดยพบว่าปัญหาสาธารณสุขในชุมชน มีผลมาจากการไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้สอดคล้องเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม ดังนั้นคนในชุมชนจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนเพื่อให้มีสุขภาพดี
เพราะการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นเกือบทั้งหมด ไม่ว่าโรคติดต่ หรือไม่ติดต่อ เช่นเรื้อรังเบาหวาน ความดัน ล้วนเกิดมาจากพฤติกรรมตนเองและพบว่าส่วนหนึ่งเกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ดังนั้นคณะกรรมการขยะหมู่ที่ 4 จึงได้จัดทำโครงการชุมชนมีส่วนร่วมดูแลสิ่งแวดล้อมสู่ชุมชนสีเขียว เพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมให้บรรลุซึ่งเป้าหมาย นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงสุขภาพให้ดีขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อเผยแพร่ความรู้ในการปลูกผักเพื่อบริโภคในชีวิตประจำวัน
2. เพื่อส่งเสริมการใช้วัสดุเหลือใช้มาทำแปลงผักในครัวเรือน
3. เพื่อให้ธนาคารขยะชุมชนมีความยั่งยืน
|
||
2 |
|
- จัดอบรมเพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องพฤติกรรมบริโภค
- ส่งเสริมให้ชาวบ้านนำวัสดุเหลือใช้มาปลูกผักสวนครัวไว้กินเองเพื่อลดโรคลดขยะชุมชน
- กิจกรรมวันเก็บขยะชุมชน เพื่อลดโรคที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมชุมชน เช่น โรคไข้เลือดออก
- ดำเนินงานธนาคารขยะต่อเนื่อง
- ประชาชนมีพฤติกรรมบริโภคเหมาะสม
- สิ่งแวดล้อมชุมชนดีขึ้นปลอดภัยต่อสุขภาพ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 ก.พ. 2560 14:52 น.