กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ เฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2560
รหัสโครงการ 2-001-60
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด(สาขา)
วันที่อนุมัติ 26 มกราคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 26 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 28,125.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวปิยวรรณ แสงทอง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.625,100.12place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 895 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงซึ่งเป็นโรคติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่ส าคัญ ได้คุกคามชีวิต ของคนไทยจ านวนมาก ซึ่งเป็นสาเหตุของการป่วย พิการ และเสียชีวิต ตลอดจนเป็นภาระต่องบประมาณด้านการดูแล สุขภาพของคนไทยที่เพิ่มมากขึ้นในอนาคต ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปี เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จ าเป็นต้อง รักษาอย่างต่อเนื่อง และยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมาก ดังจะเห็นได้จากสถานบริการสาธารณสุขทั้งของ ภาครัฐ เอกชน และสถานบริการทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูมิ ทุติยภูมิและตติยภูมิ ต่างแออัดไปด้วยผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ส่งผลให้งบประมาณที่รัฐจัดสรรให้ส าหรับโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าตามรายหัวประชากร จะต้องเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เพียงพอต่อการใช้จ่ายด้านยา บุคลากร การจัดสถานที่และเครื่องมือแพทย์ต่างๆ ในขณะที่งบประมาณของประเทศมีอยู่อย่างจ ากัด กระทรวงสาธารณสุข จึงมีมาตรการเชิงรุกในการป้องกันและแก้ไข ปัญหาโรค Metabolic โดยมีการคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยมีเป้าหมาย ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปทุกราย ต้องได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงโรค Metabolic ด้วยการสัมภาษณ์โดยใช้ แบบสอบถาม (Verbal Screening) การวัดค่าความดันโลหิต การชั่งน้ าหนัก การวัดความสูง การวัดเส้นรอบเอว และการ เจาะเลือดปลายนิ้วเพื่อตรวจค่าระดับน้ าตาลในเลือด เพื่อค้นหาพฤติกรรมเสี่ยงและค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น เพื่อที่จะมี การด าเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง รวมทั้งกลุ่มที่สงสัยจะเป็นโรคต้องส่งไปรับการรักษาตั้งแต่เริ่มแรกทุกราย อันจะส่งผลให้ลดความรุนแรงของโรคในรายที่ป่วยแล้ว พร้อมบันทึกข้อมูลลงตามโปรแกรมคัดกรองเบาหวานและความ ดันโลหิตสูง จากการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลคลองขุด (สาขา) ได้ด าเนินงานตรวจคัดกรอง เบาหวานและความดัน โลหิต ตามโครงการเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในปีงบประมาณ 2558 พบว่า ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป จ านวน 3,415 คน ได้รับการคัดกรองทั้งสิ้น 2,512 คิดเป็นร้อยละ 73.6 ซึ่งจาก การคัดกรองเบาหวาน พบว่า มีกลุ่มปกติ จ านวน 463 คน คิดเป็นร้อยละ 57.9 กลุ่มเสี่ยง จ านวน 236 คน คิดเป็น ร้อยละ 29.5 และกลุ่มที่ต้องได้รับการรักษา/ส่งต่อ จ านวน 101 คน คิดเป็นร้อยละ 12.6 จากการคัดกรองความดัน พบว่า มีกลุ่มปกติ จ านวน 491 คน คิดเป็นร้อยละ 61.4 กลุ่มเสี่ยง จ านวน 203 คน คิดเป็นร้อยละ 25.4 และกลุ่ม
2 ที่ต้องได้รับการรักษา/ส่งต่อ จ านวน 106 คน คิดเป็นร้อยละ 13.2 จากการตรวจคัดกรองดัชนีมวลกาย พบว่า กลุ่ม BMI ปกติ จ านวน 363 คน คิดเป็นร้อยละ 45.4 กลุ่ม BMI ต่ า (ผอม) จ านวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 16.7 และ กลุ่ม BMI สูง (อ้วน) จ านวน 303 คน คิดเป็นร้อยละ 37.9 ซึ่งอุปสรรคในการคัดกรอง คือ ประชาชนไม่ได้รับการคัด กรองบรรลุตามตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุขก าหนด ร้อยละ 90 เนื่องจาก ติดกิจธุระ ไม่สะดวกในช่วงเวลาและ สถานที่ในการคัดกรองของเจ้าหน้าที่และอสม. เป็นตัน จากข้อมูลดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลคลองขุด (สาขา) จึงได้จัดท าโครงการเฝ้าระวังควบคุม ป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2560 ขึ้น เพื่อให้การด าเนินงานการตรวจคัดกรองเบาหวาน และความดันโลหิตมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและ ความดันโลหิตอย่างต่อเนื่อง และบรรลุตามตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุขก าหนด ร้อยละ 90

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ ๙0

ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ ๙0

2 2.เพื่อให้แกนน าประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง หลังการอบรม ร้อยละ 100

แกนน าประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง หลังการอบรม ร้อยละ 100

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

ั้นเตรียมการ 1. ประชุมชี้แจงแนวทางการด าเนินงานแก่เจ้าหน้าที่คณะท างาน 2. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 3. ประสานงานกับ อสม.และเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อชี้แจงการด าเนินโครงการ 4. ส ารวจกลุ่มเป้าหมายและจัดเตรียมกลุ่มเป้าหมายในการตรวจคัดกรอง 5. ท าแผนการออกตรวจคัดกรองโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขร่วมกับ อสม. ขั้นด าเนินการ ๑. อบรมแกนน าประชาชน และตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันในกลุ่มเป้าหมายตามแผนที่ท าไว้ 2. ให้ อสม. ติดตามตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันในกลุ่มเป้าหมายที่ตกหล่นตามบ้าน 3. จัดท าทะเบียนผู้เข้ารับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต 4. คีย์ข้อมูลการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตเข้าโปรแกรมคัดกรอง 5. สรุปผลการคัดกรอง แยกกลุ่มผู้ที่พบภาวะเสี่ยงเพื่อเข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและแยก กลุ่มภาวะป่วยเข้ารับการรักษา ขั้นด าเนินการ 1. ติดตามและประเมินผลการด าเนินการอบรม 1.1 จ านวนผู้เข้าการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต 2. สรุปผลการด าเนินงานโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับกาตรวจคัดกรองผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 90 ตามกระทรวงก าหนด และหากพบ ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มป่วย ท าให้สามารถเข้าสู่กระบวนการรักษาได้อย่างถูกต้อง
  2. แกนน าประชาชนมีความรู้ ความสามารถ ในการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตในชุมชน ท าให้ เกิดแกนน าด้านสุขภาพในชุมชน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 ก.พ. 2560 16:13 น.