กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการ สืบสานภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยสู่วิถีชุมชน
รหัสโครงการ 16/60
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด(สาขา)
วันที่อนุมัติ 26 มกราคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 26 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 108,506.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวต่วนบีรนี ดาราหมานเศษ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.625,100.12place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 165 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การแพทย์ เป็นความจ าเป็นในการด าเนินชีวิตของมนุษย์ เนื่องจากร่างกายคนเรา ย่อมเสื่อมสภาพไปตาม ธรรมชาติ หรือด้วยเหตุต่างๆ เพื่อต่อสู้กับภาวะดังกล่าว การค้นหาวิธีปูองกันการเจ็บปุวย การบ าบัดรักษา การบรรเทาอาการเจ็บปุวย และการบริบาล จึงก่อเกิดขึ้นมา และพัฒนาต่อๆ มาจนกับระบบที่มีแบบแผน กลายเป็น "การแพทย์" ที่มีแบบแผนชัดเจน โดยจะเห็นได้ว่า การแพทย์จึงเป็นภูมิปัญญาของสังคม ที่มาจากความเชื่อ ความรู้ ความคิด การลองผิดลองถูก และกลายเป็นการยอมรับในสังคม แต่ละชนชาติ ต่างมีวิวัฒนาการทางการแพทย์ของตนเอง กลายเป็นภูมิปัญญา ของชนชาตินั้นๆ หรือท้องถิ่นนั้นๆ (สืบค้นจาก http://pimolphun.bus.ubu.ac.th/midecine.doc) การแพทย์แผนไทยในปัจจุบันได้รับการส่งเสริมจากรัฐบาลให้เป็นการแพทย์ทางเลือกอย่างหนึ่งแก่ ผู้รับบริการ กิจกรรมการแพทย์แผนไทยได้แก่ การนวด อบ ประคบสมุนไพร การแปรรูปสมุนไพรมาเป็น ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ การปลูกสมุนไพรเพื่อน ามาใช้เอง เป็นต้น โดยการนวดชนิดแต่ละแบบ มีประโยชน์ นั่นคือ สามารถบ าบัดอาการปวดเมื่อย ผ่อนคลายความเครียด ปวดหลัง ปวดเอว ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ ฯลฯ ลดการใช้ยาเองแผนปัจจุบัน อีกทั้งการอบสมุนไพรช่วยกระตุ้นระบบไหลเวียนให้ดีขึ้น บ าบัดโรคภูมิแพ้ ปวดเมื่อยต่างๆ ช่วยลดการอักเสบฟกช้ าของกล้ามเนื้อและข้อได้ นอกจากนี้ การแปรรูปสมุนไพรมาเป็น ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ช่วยให้ชุมชนน าสมุนไพรที่มีอยู่ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น แชมพูสระผมจาก ดอกอัญชัน โลชั่นกันยุงจากตระไคร้หอม สบู่สมุนไพร การท าลูกประคบ เป็นต้น (โครงการส่งเสริมการแพทย์ แผนไทย ต าบลไพศาล, ๒๕๕๐) อีกทั้ง ยังมีกิจกรรมการออกก าลังกาย เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต ช่วยสร้างเสริมระบบภูมิคุ้มกันและช่วยปูองกันโรคต่าง ๆ เช่น โรคหัวใจ, โรคระบบไหลเวียนโลหิต, เบาหวาน, และโรคอ้วน เป็นต้น นอกจากนี้การออกก าลังกายยังช่วยสร้างเสริมสุขภาพจิตและลดความเครียดได้ โดยการ ออกก าลังกายแบบแผนไทย นั่นคือ การใช้ท่าฤๅษีดัดตน เป็นที่นิยมในปัจจุบัน เพราะช่วยเสริมสร้างสมาธิใน การออกก าลังกายด้วย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลคลองขุด (สาขา) อ าเภอเมือง จังหวัดสตูล รับผิดชอบ จ านวน ๓ หมู่บ้าน ๔,๒๗๔ หลังคาเรือน ประชากรรวม ๙,๕๙๙ คน (ข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ณ ๓๐ มิย. ๕๘) ได้เล็งเห็น ความส าคัญ ในการลดการใช้ยาแผนปัจจุบันที่เสี่ยงต่อสารเคมีและสนับสนุนการใช้ยาสมุนไพร การใช้ภูมิ ปัญญาในการดูแลสุขภาพของประชาชนทุกกลุ่มวัยในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสถานบริการ เพื่อเป็นการส่งเสริม การแพทย์แผนไทย อนุรักษ์ภูมิปัญญาพื้นบ้าน การน าภูมิปัญญาพื้นบ้านมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดอย่าง ปลอดภัย ทั้งทางด้านส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชนผู้รับบริการ อย่างแท้จริง ดังนั้น จึงได้จัดท า โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ สืบสานภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยสู่วิถีชุมชน ปี ๒๕๖๐ ขึ้น เพื่อเป็นการสืบสานภูมิปัญญาที่มีอยู่ในท้องถิ่น ให้คงอยู่สืบต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพทีมสุขภาพ แกนน านักเรียนและแกนน าสตรีให้มีความรู้เรื่องการใช้ยา แพทย์แผนไทย หลังการอบรม ร้อยละ ๙

แกนน านักเรียนและแกนน าสตรีให้มีความรู้เรื่องการใช้ยา แพทย์แผนไทย หลังการอบรม ร้อยละ ๙

2 2.เพื่อให้ทีมสุขภาพ แกนน านักเรียน และแกนน าสตรี มีความรู้ด้านการออกก าลังกายโดยใช้ท่า ฤๅษีดัดตนหลังการอบรม โดยสามารถน ามาใช้ในชีวิตประจ าวันเพื่อการผ่อนคลาย เสริมสุขภาพ และบ าบัดโรค ได้ด้วยตนเอง ร้อยละ ๙๐

ทีมสุขภาพ แกนน านักเรียน และแกนน าสตรี มีความรู้ด้านการออกก าลังกายโดยใช้ท่า ฤๅษีดัดตนหลังการอบรม โดยสามารถน ามาใช้ในชีวิตประจ าวันเพื่อการผ่อนคลาย เสริมสุขภาพ และบ าบัดโรค ได้ด้วยตนเอง ร้อยละ ๙๐

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

ขั้นเตรียมการ ๑.ศึกษาบริบทพื้นที่ ชุมชน ๒.ประชุม/ประสานงานชี้แจงการด าเนินงานแก่คณะท างาน ๓.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ ขั้นด าเนินการ ๑.จัดอบรมให้ความรู้แก่ทีมสุขภาพ และแกนน านักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา แกนน าสตรี ๓ หมู่บ้าน ในพื้นที่รับผิดชอบ/กิจกรรมเชิงปฏิบัติการ ท าผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพร/ ออกก าลังกายฤาษีดัดตน/ จัดตั้ง มุมแพทย์แผนไทยในโรงเรียนและชุมชน ๒.พัฒนาระบบการแพทย์แผนไทยใน รพ.สต. โดยการจัดตั้งมุมแพทย์แผนไทย ขั้นติดตามและประเมินผล ๑. ติดตามและประเมินผลการด าเนินงาน ๒. สรุปผลการด าเนินโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนในพื้นที่ต าบลคลองขุด (หมู่ที่ ๓, ๔ และ ๗) มีการใช้ยาแพทย์แผนปัจจุบันลดลง ในปี ๒๕๖๐ ๒. ได้คู่มือในการออกก าลังกายโดยการใช้ท่าฤๅษีดัดตน และเป็นต้นแบบแก่ผู้ที่สนใจต่อไป ๓. ทีมสุขภาพ แกนน านักเรียน และแกนน าสตรี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยาสมุนไพร การท าผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพร ๔. ได้ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสมุนไพร และมีมุมแพทย์แผนไทยในรพ.สต. โรงเรียนและชุมชน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 ก.พ. 2560 16:19 น.