กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ


“ โครงการจัดกิจกรรมส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ในเด็กวัยเรียนและเยาวชนเพื่อชีวิตที่สำเร็จ ”

อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายอารมณ์จิตภักดี ประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

ชื่อโครงการ โครงการจัดกิจกรรมส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ในเด็กวัยเรียนและเยาวชนเพื่อชีวิตที่สำเร็จ

ที่อยู่ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L7499-3-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดกิจกรรมส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ในเด็กวัยเรียนและเยาวชนเพื่อชีวิตที่สำเร็จ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดกิจกรรมส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ในเด็กวัยเรียนและเยาวชนเพื่อชีวิตที่สำเร็จ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดกิจกรรมส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ในเด็กวัยเรียนและเยาวชนเพื่อชีวิตที่สำเร็จ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7499-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันนี้มีความเจริญทางด้านวัตถุ การพัฒนาเทคโนโลยีที่ช่วยในการดำรงชีวิต ทำให้การดำเนินชีวิตของคนในสังคมมีการเผชิญกับปัญหาหลายด้าน ผู้ที่สามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุขและประสบความสำเร็จนั้น ผลจากการศึกษาของมหาวิทยาลัย ฮาวาร์ดพบว่า ความสำเร็จในด้านต่างๆ ของผู้เรียนมีความฉลาดทางอารมณ์ถึงร้อยละ 80 ส่วนร้อยละ 20 เป็นผลมาจากความฉลาดทางเชาว์ปัญญาดังนั้นความรู้ความเข้าใจและการพัฒนา “ความฉลาดทางอารมณ์ (E.Q.)จึงเป็นสิ่งที่สำคัญมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับนักเรียน/เยาวชน ซึ่งเป็นกลุ่มหนึ่งที่จำเป็นต้อง รับรู้ หรือใช้เทคโนโลยีต่างๆมากขึ้นและกำลังอยู่ในวัยที่มักจะมีปัญหาหลายด้าน ทั้งด้านการเรียน การคบเพื่อน และปัญหาทางครอบครัว หากนักเรียน/เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจและได้พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ จะทำให้นักเรียน/เยาวชนมีแนวทางที่ถูกต้องเหมาะสมในการพัฒนาจิตใจ อารมณ์ และทักษะการคิดของตนเอง รวมทั้งมีความสามารถในการจัดการกับปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างราบรื่น อันจะนำไปสู่การดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีคุณค่าและมีความสุข องค์ความรู้ทักษะสมองเพื่อชีวิตที่สำเร็จ ด้วยการพัฒนาทักษะสมองที่มากกว่าไอคิว มีความจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับใช้จัดการชีวิตในยุคปัจจุบัน ซึ่งทำให้เด็กไทยรู้จักรับมือกับยุคใหม่ จัดการตัวเองได้ อยู่กับคนอื่นเป็น และใช้ชีวิตอย่างมีความสุข ซึ่งเป็นรากฐานของคนจริงๆ ทักษะพื้นฐานของความเป็นมนุษย์ (Executive Functions หรือ EF ) เป็นทักษะที่นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกยอมรับแล้วว่า เป็นทักษะที่นำไปสู่ความสำเร็จในชีวิต คิดเป็น ทำงานเป็น แก้ปัญหาเป็น อยู่กับผู้คนเป็น มุ่งมั่นในการทำสิ่งต่างๆจนลุล่วง และมีความสุขแก้ปัญหาได้ จึงมีความจำเป็นในการส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาทักษะความฉลาดทางอารมณ์ให้กับเด็กและเยาวชนในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมและสร้างความเข้าใจใน การใช้ทักษะชีวิตให้กับเยาวชนในการจัดการสุขภาพของตนเองและครอบครัว
  2. 2. เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับเด็กเยาวชนและครอบครัวในการพัฒนาทักษะชีวิตให้มีความภาวะสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ วิญญาณและสังคม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็ก/เยาวชน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการฝึกทักษะเพื่อความสำเร็จของชีวิต
    2. เด็ก/เยาวชน สามารถดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีคุณค่าและมีความสุข

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อส่งเสริมและสร้างความเข้าใจใน การใช้ทักษะชีวิตให้กับเยาวชนในการจัดการสุขภาพของตนเองและครอบครัว
    ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจในการใช้ทักษะชีวิตสำหรับการพัฒนาสุขภาพของตนเองและครอบครัว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50

     

    2 2. เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับเด็กเยาวชนและครอบครัวในการพัฒนาทักษะชีวิตให้มีความภาวะสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ วิญญาณและสังคม
    ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้มีการพัฒนาด้านทักษะชีวิตสามารถปฏิบัติตนให้มีสุขภาพที่สมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ วิญญาณและสังคม ได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมและสร้างความเข้าใจใน การใช้ทักษะชีวิตให้กับเยาวชนในการจัดการสุขภาพของตนเองและครอบครัว (2) 2. เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับเด็กเยาวชนและครอบครัวในการพัฒนาทักษะชีวิตให้มีความภาวะสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ วิญญาณและสังคม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการจัดกิจกรรมส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ในเด็กวัยเรียนและเยาวชนเพื่อชีวิตที่สำเร็จ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L7499-3-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอารมณ์จิตภักดี ประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด