ส่งเสริมทันตสาธารณสุขในกลุ่มอนามัยแม่และเด็ก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ส่งเสริมทันตสาธารณสุขในกลุ่มอนามัยแม่และเด็ก ”
ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวบุศริน มะมิง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง
มีนาคม 2560
ชื่อโครงการ ส่งเสริมทันตสาธารณสุขในกลุ่มอนามัยแม่และเด็ก
ที่อยู่ ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3016-1-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มีนาคม 2560 ถึง 9 มีนาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมทันตสาธารณสุขในกลุ่มอนามัยแม่และเด็ก จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมทันตสาธารณสุขในกลุ่มอนามัยแม่และเด็ก
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมทันตสาธารณสุขในกลุ่มอนามัยแม่และเด็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3016-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มีนาคม 2560 - 9 มีนาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ฟันผุของเด็กไทย จะพบว่าเด็กเป็นโรคฟันผุตั้งแต่ก่อนอายุ ๑ ขวบ และเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วมากในช่วงเด็กอายุ ๑-๓ ขวบ และการที่เด็กมีฟันผุผู้ใหญ่กลับคิดว่าเป็นเรื่องธรรมดา แต่จริงแล้วฟันผุเป็นเรื่องอันตราย เพราะเด็กมีภูมิต้านทานน้อย แม้จะไม่อันตรายถึงแก่ชีวิตแต่ก็ทำให้เด็กเจ็บปวดทรมาน เสียสุขภาพอัตราการเกิดโรคฟันผุของเด็กในประเทศอุตสาหกรรมลดลงจาก การใช้ฟลูออไรด์และการแปรงฟันสม่ำเสมอ แต่สำหรับประเทศไทยโรคฟันผุในเด็กเล็กยังคงเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะเด็กในภาคใต้
เป็นเพราะพ่อแม่และผู้เลี้ยงดูเด็กเน้นการเลี้ยงดูด้านกายเป็นหลัก พฤติกรรมการบริโภคของเด็ก เด็กชอบกินขนมหวาน การดื่มนมหวานมีผลเสียต่อสุขภาพฟันมากขึ้นเมื่อผนวกไปกับพฤติกรรมการดูดจากขวดและการหลับคาขวดนม ทำให้เกิดฟันผุได้ง่าย มีผลเสียต่อสุขภาพฟัน พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงเด็กจึงมีส่วนสำคัญที่สุด ในการปลูกฝังพฤติกรรมดังกล่าว ในเรื่องการแปรงฟัน พ่อแม่จำนวนมากมักไม่ทราบว่าตนเองควรแปรงฟันให้ลูกจนถึงอายุประมาณ ๖ ขวบ พ่อแม่อีกไม่น้อยที่รู้สึกว่าการแปรงฟันให้ลูกเป็นเรื่องยาก พบว่าเด็กอายุ ๑ ขวบครึ่งถึง ๓ ขวบ มีผู้ปกครองแปรงฟันให้เพียงร้อยละ ๒๓ พ่อแม่ส่วนมากยอมรับว่าตนเองมีปัญหาไม่สามารถแปรงฟันให้เด็กได้อย่างดีหรือไม่ได้แปรงเลย สาเหตุมีทั้งเด็กไม่ยอมแปรงฟัน เพราะไม่เคยแปรงหรือไม่กล้าแปรงฟันให้เพราะกลัวเด็กเจ็บ การแปรงฟันแม้จะเป็นเรื่องชีวิตประจำวันพื้นๆ แต่มีความสำคัญมาก เพราะการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์เป็นกลวิธีการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่สำคัญที่สุด การส่งเสริมการสร้างสุการแปรงฟันให้เด็กได้ตั้งแต่ฟันซี่แรกขึ้น ปัญหาฟันผุในเด็กเป็นเรื่องที่สามารถแก้ไขได้ ซึ่งการป้องกันฟันผุในเด็กเล็กโดยวิธีการใดวิธีหนึ่งเพียงอย่างเดียวมักไม่ได้ผล จึงต้องทำควบคู่กันไปทั้งกลวิธีทางชุมชน การดูแลโดยทันตบุคลากรและการดูแลโดยครอบครัว ทั้งที่บ้านและที่โรงเรียน และควรทำผสมผสานร่วมกัน
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะกาฮะรังเห็นความสำคัญการดูแลสุขภาพฟันเด็กตำบลปะกาฮะรังตั้งแต่ยังเยาว์วัย จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมทันตสาธารณสุขในกลุ่มอนามัยแม่และเด็ก เพื่อจัดอบรมให้ความรู้แก่พ่อแม่และรณรงค์การเลี้ยงลูกอย่างมีคุณภาพด้านสุขภาพฟัน ซึ่งมีความคาดหวังว่าเด็กเกิดใหม่จะมีสุขภาพฟันที่ดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑เพื่อจัดการอบรมให้ความรู้เรื่องทันตสาธารณสุขแก่พ่อแม่
.๒ส่งเสริมการแปรงฟันให้ลูกตั้งแต่ฟันขึ้นซี่แรก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑ พ่อแม่มีความรู้ความเข้าใจและให้ความสำคัญการดูแลฟันของลูกถูกต้อง
๒ สถานการณ์ฟันผุในเด็กตำบลปะกาฮะรังลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑เพื่อจัดการอบรมให้ความรู้เรื่องทันตสาธารณสุขแก่พ่อแม่
.๒ส่งเสริมการแปรงฟันให้ลูกตั้งแต่ฟันขึ้นซี่แรก
ตัวชี้วัด : ๑ร้อยละ ๖๐ ของกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้เกี่ยวกับทันตสาธารณสุข
๒ร้อยละ ๔๐ ของหญิงตั้งครรภ์เห็นความสำคัญของการแปรงฟันให้ลูกและการสร้างสุข
นิสัยการบริโภคอาหาร
40.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑เพื่อจัดการอบรมให้ความรู้เรื่องทันตสาธารณสุขแก่พ่อแม่
.๒ส่งเสริมการแปรงฟันให้ลูกตั้งแต่ฟันขึ้นซี่แรก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่งเสริมทันตสาธารณสุขในกลุ่มอนามัยแม่และเด็ก จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3016-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวบุศริน มะมิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ส่งเสริมทันตสาธารณสุขในกลุ่มอนามัยแม่และเด็ก ”
ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวบุศริน มะมิง
มีนาคม 2560
ที่อยู่ ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3016-1-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มีนาคม 2560 ถึง 9 มีนาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมทันตสาธารณสุขในกลุ่มอนามัยแม่และเด็ก จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมทันตสาธารณสุขในกลุ่มอนามัยแม่และเด็ก
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมทันตสาธารณสุขในกลุ่มอนามัยแม่และเด็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3016-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มีนาคม 2560 - 9 มีนาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ฟันผุของเด็กไทย จะพบว่าเด็กเป็นโรคฟันผุตั้งแต่ก่อนอายุ ๑ ขวบ และเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วมากในช่วงเด็กอายุ ๑-๓ ขวบ และการที่เด็กมีฟันผุผู้ใหญ่กลับคิดว่าเป็นเรื่องธรรมดา แต่จริงแล้วฟันผุเป็นเรื่องอันตราย เพราะเด็กมีภูมิต้านทานน้อย แม้จะไม่อันตรายถึงแก่ชีวิตแต่ก็ทำให้เด็กเจ็บปวดทรมาน เสียสุขภาพอัตราการเกิดโรคฟันผุของเด็กในประเทศอุตสาหกรรมลดลงจาก การใช้ฟลูออไรด์และการแปรงฟันสม่ำเสมอ แต่สำหรับประเทศไทยโรคฟันผุในเด็กเล็กยังคงเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะเด็กในภาคใต้
เป็นเพราะพ่อแม่และผู้เลี้ยงดูเด็กเน้นการเลี้ยงดูด้านกายเป็นหลัก พฤติกรรมการบริโภคของเด็ก เด็กชอบกินขนมหวาน การดื่มนมหวานมีผลเสียต่อสุขภาพฟันมากขึ้นเมื่อผนวกไปกับพฤติกรรมการดูดจากขวดและการหลับคาขวดนม ทำให้เกิดฟันผุได้ง่าย มีผลเสียต่อสุขภาพฟัน พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงเด็กจึงมีส่วนสำคัญที่สุด ในการปลูกฝังพฤติกรรมดังกล่าว ในเรื่องการแปรงฟัน พ่อแม่จำนวนมากมักไม่ทราบว่าตนเองควรแปรงฟันให้ลูกจนถึงอายุประมาณ ๖ ขวบ พ่อแม่อีกไม่น้อยที่รู้สึกว่าการแปรงฟันให้ลูกเป็นเรื่องยาก พบว่าเด็กอายุ ๑ ขวบครึ่งถึง ๓ ขวบ มีผู้ปกครองแปรงฟันให้เพียงร้อยละ ๒๓ พ่อแม่ส่วนมากยอมรับว่าตนเองมีปัญหาไม่สามารถแปรงฟันให้เด็กได้อย่างดีหรือไม่ได้แปรงเลย สาเหตุมีทั้งเด็กไม่ยอมแปรงฟัน เพราะไม่เคยแปรงหรือไม่กล้าแปรงฟันให้เพราะกลัวเด็กเจ็บ การแปรงฟันแม้จะเป็นเรื่องชีวิตประจำวันพื้นๆ แต่มีความสำคัญมาก เพราะการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์เป็นกลวิธีการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่สำคัญที่สุด การส่งเสริมการสร้างสุการแปรงฟันให้เด็กได้ตั้งแต่ฟันซี่แรกขึ้น ปัญหาฟันผุในเด็กเป็นเรื่องที่สามารถแก้ไขได้ ซึ่งการป้องกันฟันผุในเด็กเล็กโดยวิธีการใดวิธีหนึ่งเพียงอย่างเดียวมักไม่ได้ผล จึงต้องทำควบคู่กันไปทั้งกลวิธีทางชุมชน การดูแลโดยทันตบุคลากรและการดูแลโดยครอบครัว ทั้งที่บ้านและที่โรงเรียน และควรทำผสมผสานร่วมกัน
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะกาฮะรังเห็นความสำคัญการดูแลสุขภาพฟันเด็กตำบลปะกาฮะรังตั้งแต่ยังเยาว์วัย จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมทันตสาธารณสุขในกลุ่มอนามัยแม่และเด็ก เพื่อจัดอบรมให้ความรู้แก่พ่อแม่และรณรงค์การเลี้ยงลูกอย่างมีคุณภาพด้านสุขภาพฟัน ซึ่งมีความคาดหวังว่าเด็กเกิดใหม่จะมีสุขภาพฟันที่ดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑เพื่อจัดการอบรมให้ความรู้เรื่องทันตสาธารณสุขแก่พ่อแม่ .๒ส่งเสริมการแปรงฟันให้ลูกตั้งแต่ฟันขึ้นซี่แรก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑ พ่อแม่มีความรู้ความเข้าใจและให้ความสำคัญการดูแลฟันของลูกถูกต้อง
๒ สถานการณ์ฟันผุในเด็กตำบลปะกาฮะรังลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑เพื่อจัดการอบรมให้ความรู้เรื่องทันตสาธารณสุขแก่พ่อแม่
.๒ส่งเสริมการแปรงฟันให้ลูกตั้งแต่ฟันขึ้นซี่แรก ตัวชี้วัด : ๑ร้อยละ ๖๐ ของกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้เกี่ยวกับทันตสาธารณสุข ๒ร้อยละ ๔๐ ของหญิงตั้งครรภ์เห็นความสำคัญของการแปรงฟันให้ลูกและการสร้างสุข นิสัยการบริโภคอาหาร |
40.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑เพื่อจัดการอบรมให้ความรู้เรื่องทันตสาธารณสุขแก่พ่อแม่
.๒ส่งเสริมการแปรงฟันให้ลูกตั้งแต่ฟันขึ้นซี่แรก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่งเสริมทันตสาธารณสุขในกลุ่มอนามัยแม่และเด็ก จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3016-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวบุศริน มะมิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......