กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการดูแลเบาหวานและความดันโลหิตสูงไร้รอยต่อ โดยยึดหลักปิงปอง 7 สี เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
รหัสโครงการ 60-L3005-1-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา
วันที่อนุมัติ 28 กันยายน 2559
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 14 พฤศจิกายน 2559 - 14 กุมภาพันธ์ 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 55,575.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวมนัสวรรณหะมะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลลางา อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.735,101.478place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 250 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา ได้จัดทำโครงการดูแลเบาหวานและความดันโลหิตสูงไร้รอยต่อ โดยยึดหลักปิงปอง 7 สี เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ประจำปีงบประมาณ 2560 ขึ้น เพื่อลดโอกาสการเจ็บป่วยต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง และหวังให้ประชาชนในตำบลลางามีสุขภาพดี มีความสุขในการดำรงชีวิตที่ปกติสุขต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.สร้างกลไกการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนทั้งภาคเอกชนภาคประชาสังคมและภาคประชาชนผ่านกระบวนการบูรณาการแผนในทุกระดับ

 

2 2.พัฒนาระบบเฝ้าระวังการจัดการโรคและภัยสุขภาพการส่งเสริมสุขภาพ การรักษา การฟื้นฟูสภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค และเตรียมความพร้อมในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน

 

3 3.ขับเคลื่อนระบบทางสังคมและสื่อสาธารณะและพัฒนาระบบสารสนเทศให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและนำไปใช้ประโยชน์ได้

 

4 4.ยกระดับให้ชุมชนสามารถบริหารจัดการโรคและภัยสุขภาพ

 

5 5.ส่งเสริมให้เกิดการจัดการความรู้และนวัตกรรมสุขภาพและสิ่งแวดล้อม

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

กระบวนการที่1 1.จัดทำฐานข้อมูลเพื่รองรับการดำเนินงาน -กำหนดบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ ของบุคลากรแต่ละระดับอย่างชัดเจน -กำหนดกลุ่มเป้าหมายที่จะออกคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง 1.1สำรวจฐานข้อมูลประชากร จำแนกข้อมูลเป็นรายหมู่บ้าน -ประชากร กลุ่ทอายุ 15-29 -ประชากรกลุ่มอายุ 30-34 -ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป 1.2 ดำเนินการคัดกรองโดยใช้แบบคัดกรอง 1.3 วิเคราะห์ข้อมูลการคัดกรองจำแนกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1.3.1 กลุ่มปกติ 1.3.2กลุ่มเสี่ยง 1.3.3กลุ่มสงสัยป่วย กระบวนการที่2 2.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง 2.1 ส่งเสริมให้มีกิจกรรมอย่างเป็นรูปธรรมในคลินิก 2.2 ชุมชนต้นแบบปิงปอง 7 สีปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส 2.2.1ประพฤติกรรมเสี่งโดยใช้แบบประเมินกองสุขศึกษาก่อนเข้าร่วมกิจกรรม 2.2.2วิเคราะห์ข้อมูล 2.2.3จัดกิจกรรมอบรมกลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส หลักสูตร 2 วัน 2.2.4ประเมินพฤติกรรมเสี่ยงหลังเข้าร่วมกิจกรรม กระบวนการที่3 การพัฒนาคุณภาพคลินิกบริการ 3.1 ด้านบุคลากรส่งเข้าร่วมประชุมวิชาการประจำปี 3.2 ด้านผู้ป่วยที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงและระดับความดันโลหิตสูงได้ร่วมจัดกิจกรรมอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส หลักสูตร 2 วัน 3.3จัดทำโรงเรียนเบาหวานหลักสูตรการดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวานและความดันในชุมชน 3.4จัดทำคลินิกเบาหวานในสถานบริการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน ผ่านกระบวนการบูรณาการแผนในทุกระดับ 2.มีการพัฒนาระบบเฝ้าระวังการจัดการโรคและภัยสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพการรักษาการฟื้นฟูสภาพและการคุ้มครองผู้บริโภคและเตรียมความพร้อมในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน 3.มีการขับเคลื่อนระบบทางสังคมและสื่อสาธารณะและพัฒนาระบบสารสนเทศให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและนำไปใช้ประโยน์ได้ 4.สามารถยกระดับให้ชุมชนสามารถบริหารจัดการโรคและภัยสุขภาพ 5.มีการส่งเสริมให้เกิดการจัดการความรู้และนวัตกรรมสุขภาพและสิ่งแวดล้อม

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 ก.พ. 2560 22:12 น.