โครงการหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย
ชื่อโครงการ | โครงการหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรม อสม. ตำบลสะดาวา |
วันที่อนุมัติ | 13 ตุลาคม 2560 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2561 - 28 กันยายน 2561 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 6 กุมภาพันธ์ 2562 |
งบประมาณ | 37,500.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายมูฮัมหมัดรัสดี อาเกะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายอับดุลนาเซร์ ดอเลาะ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.821,101.311place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 20 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อกรตุ้นให้ประชาชน องค์กรในพื้นที่ มีความตระหนักและเห็นความสำคัญในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
|
0.00 | |
2 | เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน องค์กรในพื้นที่มีการกำจัดลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องและจริงจัง
|
0.00 | |
3 | เพื่อระดมความร่วมมือจากทุกองค์กร และประชาชนปรับปรุงสิ่งแวดล้อม เพื่อกำจัดลูกน้ำและควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
|
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 29,500.00 | 2 | 37,500.00 | -8,000.00 | |
9 ส.ค. 62 | อบรมความรู้ | 0 | 10,000.00 | ✔ | 10,000.00 | 0.00 | |
9 ส.ค. 62 | รณรงค์ปูพรมควบคุมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย | 0 | 19,500.00 | ✔ | 27,500.00 | -8,000.00 | |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 29,500.00 | 2 | 37,500.00 | -8,000.00 |
1.เจ้าหน้าที่สาธารณสุขจัดประชุม ผู้เข้าร่วมประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ อบต. ครู อาสาสมัครสาธารณสุข กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำศาสนา ร่วมกันวางแผนการดำเนินงาน แบ่งภารกิจหน้าที่เพื่อปฏิบัติงาน 2.จัดรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายใช้วิธีปูพรมการควบคุมกำจัดยุงลายทางด้านกายภาพ/ชีวภาพ โดยใช้วิธี 3 ป. การใช้ทรายเคมีกำจัดลูกน้ำ การปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในบ้านตนเอง สถานที่สาธารณประโยชน์ อสม.เป็นผู้ควบคุมเป็นละแวกบ้านการพ่นเคมีทุกหลังคาเรือน โดยจัดทีมพ่นเคมี 5 ชุด 3.การให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ในหมู่บ้านและโรงเรียน 4.ประเมินผลติดตามผลการดำเนินงาน
1.ประชาชนมีการควบคุมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายอย่างต่อเนื่องและจริงจัง 2.จำนวนบ้านที่พบลูกน้ำยุงลายไม่เกินร้อยละ 10 ของหลังคาเรือนทั้งหมด 3.จำนวนภาชนะที่พบลูกน้ำยุงลายต่อบ้านที่สำรวจ ไม่เกินร้อยละ 50 ต่อหลังคาเรือนทั้งหมด 4.อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกลดลง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 ก.ค. 2561 14:30 น.