กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวในการดูแลมารดาและทารก หลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐
0.00

 

2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีมีส่วนร่วมในการดูแลบุตรอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์คุณภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐
0.00

 

3 เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับหญิงตั้งครรภ์และแม่หลังคลอดในชุมชน
ตัวชี้วัด : หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๕
0.00

 

4 เพื่อสร้างทีมเครือข่ายสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านควนบ่อทอง (อสน.อสม.จนท.) และครอบครัว ให้ดูแลครอบครัวและชุมชนในเรื่องอนามัยแม่และเด็กและเป็นที่ปรึกษาด้านสุขภาพได้
ตัวชี้วัด : - อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย ๖ เดือนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ - จากการตรวจวัดพัฒนาการเด็ก ๐-๕ปี มีพัฒนการสมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 145
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 85
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวในการดูแลมารดาและทารก    หลังคลอดได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีมีส่วนร่วมในการดูแลบุตรอย่างต่อเนื่อง (3) เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับหญิงตั้งครรภ์และแม่หลังคลอดในชุมชน (4) เพื่อสร้างทีมเครือข่ายสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านควนบ่อทอง (อสน.อสม.จนท.)  และครอบครัว ให้ดูแลครอบครัวและชุมชนในเรื่องอนามัยแม่และเด็กและเป็นที่ปรึกษาด้านสุขภาพได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรมจัดอบรมโรงเรียนพ่อแม่ในหญิงตั้งครรภ์และสามี  (2) กิจกรรมจัดอบรมอาสาสมัครสาธารณสุข  (3) กิจกรรมจัดอบรมหญิงหลังคลอด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh