กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก


“ โครงการ ค้นหามะเร็งปากมดลูกเชิงรุก ”

ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน

ชื่อโครงการ โครงการ ค้นหามะเร็งปากมดลูกเชิงรุก

ที่อยู่ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3330-1-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 กรกฎาคม 2561 ถึง 25 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ค้นหามะเร็งปากมดลูกเชิงรุก จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ค้นหามะเร็งปากมดลูกเชิงรุก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ค้นหามะเร็งปากมดลูกเชิงรุก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3330-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 กรกฎาคม 2561 - 25 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,990.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตของประชาชนและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมาก โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทย  จากข้อมูลสถิติสาธารณสุขปี พ.ศ.2546 (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, 2548) พบว่า อัตราตายจากโรคมะเร็งของประชากรไทยมีแนวโน้มสูงขึ้น และโรคมะเร็งที่พบมากที่สุดในประเทศไทย ได้แก่ มะเร็งตับ มะเร็งปอด มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม ตามลำดับ สำหรับสตรีไทยโรคมะเร็งปากมดลูกมีอุบัติการณ์สูงเป็นอันดับหนึ่งของโรคมะเร็งทุกชนิด (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, 2548) นอกจากนี้ยังพบว่า  การตรวจวินิจฉัยและให้การรักษาผู้ที่มีความผิดปกติของปากมดลูกตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็งตามขั้นตอน  ที่ถูกต้องเหมาะสมสามารถลดอุบัติการณ์และอัตราการตายของโรคมะเร็งปากมดลูกได้ เนื่องจากมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่เซลล์เริ่มผิดปกติโดยการทำ Pap smear หรือ VIA (Visual Inspection of cervix with Acetic acid)ประกอบกับการดำเนินโรคเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป และสามารถรักษาให้หายขาดได้โดยการรักษาตามระบบและการจี้เย็น (Cryotherapy) ปีงบประมาณ 2553 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  ได้เห็นความสำคัญของปัญหาจึงให้การสนับสนุนงบประมาณการดำเนินงานโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่กระทรวงสาธารณสุข  โดยมอบให้สถาบันมะเร็งแห่งชาติ  กรมการแพทย์ ดำเนินโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี Pap smear และ VIA  ในสตรีไทยอายุ 30-60 ปี กำหนดเกณฑ์ตัวชี้วัด ร้อยละของสตรี 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสม ปีงบประมาณ 255๘ -25๖1 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80         โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน  จึงได้จัดทำโครงการค้นหามะเร็งปากมดลูกเชิงรุกขึ้น  โดยเน้นการตรวจ Pap Smear เชิงรุกค้นหาเซลล์มะเร็งได้ในระยะเริ่มแรก เพื่อการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและเป็นแนวทางในการยับยั้งโรคก่อนลุกลาม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมะเร็งปากมดลูก (สตรีอายุ 30-60 ปี) มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้น
  2. ข้อที่ ๒.เพื่อค้นหาผู้ที่สงสัยเป็นมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มต้น
  3. ข้อที่๓ สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจโรคมะเร็งปากมดลูกครอบคลุม ร้อยละ 8๐
  4. ข้อที่๔ สตรีที่ตรวจพบโรคมะเร็งปากมดลูกได้รับการรักษาทุกคน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ ๑ จัดอบรมกลุ่มเป้าหมายสตรีอายุ 30-60 ปี ที่ไม่เคยตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปีที่ผ่านมา รุ่นที่ ๑ วันที่ 24 กรกฎาคม ๒๕๖1 จำนวน 53 คน รุ่นที่ ๒ วันที่ 25 กรกฎาคม ๒๕๖1 จำนวน 53 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 53
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สตรีกลุ่มอายุ 30 – 60 ปีมีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูก และรับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก     ๒. สามารถค้นหาความผิดปกติของเซลล์มะเร็งที่ปากมดลูกในระยะเริ่มแรกได้     ๓. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างถูกวิธี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมะเร็งปากมดลูก (สตรีอายุ 30-60 ปี) มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ๑. สตรีกลุ่มอายุ 30 – 60 ปีมีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูก และรับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
80.00

 

2 ข้อที่ ๒.เพื่อค้นหาผู้ที่สงสัยเป็นมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มต้น
ตัวชี้วัด : ๒.สามารถค้นหาความผิดปกติของเซลล์มะเร็งที่ปากมดลูกในระยะเริ่มแรกได้
80.00

 

3 ข้อที่๓ สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจโรคมะเร็งปากมดลูกครอบคลุม ร้อยละ 8๐
ตัวชี้วัด : ๓.สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับบริการตรวจโรคมะเร็งปากมดลูกครอบคลุมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 8๐
80.00

 

4 ข้อที่๔ สตรีที่ตรวจพบโรคมะเร็งปากมดลูกได้รับการรักษาทุกคน
ตัวชี้วัด : ๔.สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างถูกวิธี
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 53
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 53
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมะเร็งปากมดลูก (สตรีอายุ 30-60 ปี) มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้น (2) ข้อที่ ๒.เพื่อค้นหาผู้ที่สงสัยเป็นมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มต้น (3) ข้อที่๓ สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจโรคมะเร็งปากมดลูกครอบคลุม ร้อยละ  8๐ (4) ข้อที่๔ สตรีที่ตรวจพบโรคมะเร็งปากมดลูกได้รับการรักษาทุกคน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ ๑  จัดอบรมกลุ่มเป้าหมายสตรีอายุ 30-60 ปี ที่ไม่เคยตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปีที่ผ่านมา  รุ่นที่ ๑  วันที่  24 กรกฎาคม  ๒๕๖1  จำนวน    53  คน รุ่นที่ ๒  วันที่  25  กรกฎาคม  ๒๕๖1  จำนวน  53  คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ค้นหามะเร็งปากมดลูกเชิงรุก จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3330-1-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด