โครงการเด็กและเยาวชนบ้านควนเรียนรู้ ป้องกันโรคเอดส์ เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเด็กและเยาวชนบ้านควนเรียนรู้ ป้องกันโรคเอดส์ เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
น.ส.พัชรินทร์ ด้วงผุด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการเด็กและเยาวชนบ้านควนเรียนรู้ ป้องกันโรคเอดส์ เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1500-02-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กและเยาวชนบ้านควนเรียนรู้ ป้องกันโรคเอดส์ เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กและเยาวชนบ้านควนเรียนรู้ ป้องกันโรคเอดส์ เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กและเยาวชนบ้านควนเรียนรู้ ป้องกันโรคเอดส์ เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1500-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กและเยาวชนคืออนาคตของชาติ แต่สังคมไทยกำลังประสบปัญหาที่เกิดขึ้นกับเยาวชนทั้งเรื่องพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสมและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ซึ่งปัญหานี้กลายเป็นปัญหาอันดับต้นๆ ของประเทศ ผลการสำรวจระบุว่าเพศสัมพันธ์ครั้งแรกของวัยรุ่นอยู่ในวัยประมาณ 14-15 ปี ก่อให้เกิดปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ เพราะอยู่ในวัยศึกษาเล่าเรียน ซึ่งนำไปสู่การทำแท้ง โดยแต่ละปีมีตัวเลขระบุว่าไม่ต่ำกว่า 300,000 ราย นอกจากเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ยังมีค่านิยมการทดลองอยู่ด้วยกัน การแลกคู่นอนกระทั่งเลยเถิดไปถึงการขายบริการทางเพศเพื่อนำเงินไปเที่ยวเตร่หรือซื้อของฟุ่มเฟือย ยิ่งไปกว่านั้นการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ก็กำลังลุกลามเข้าสู่กลุ่มวัยรุ่น และพวกเขาเองกำลังกลายเป็นกลุ่มเสี่ยงไปอย่างเลี่ยงไม่ได้ภัยอันตรายเหล่านี้เป็นสัญญาณเตือนว่าถึงเวลาที่เราต้องช่วยกันรื้อฟื้นค่านิยม “อดเปรี้ยวไว้กินหวาน”กลับคืนมาอีกครั้งหนึ่ง เพื่อจะจัดการกับปัญหาพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสมในหมู่วัยรุ่น
ปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรมีสาเหตุมาจากการอยากรู้อยากลอง การชักชวนของเพื่อนฝูง การรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ขาดการตระหนักถึงพิษภัยและผลกระทบที่ตามมา สิ่งยั่วยุ ความเจริญทางเทคโนโลยีและการสื่อสาร รวมไปถึงพ่อแม่ผู้ปกครองที่ไม่มีเวลาในการอบรมเลี้ยงดู สภาเด็กและเยาวชนตำบลบ้านควนได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการ “เด็กและเยาวชนบ้านควนเรียนรู้ ป้องกันโรคเอดส์ เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร” โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้เยาวชนได้ตระหนักถึงพิษภัยของปัญหาดังกล่าว และรู้จักหลีกเลี่ยงภัยอันตรายเหล่านั้น เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคเอดส์ เพศศึกษา และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนเกิดความตระหนักถึงพิษภัย และผลกระทบของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
- เพื่อให้มีกลุ่มแกนนำเด็กและเยาวชนที่สามารถให้คำปรึกษาด้านยาเสพติด โรคเอดส์ เพศศึกษา และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในชุมชนได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักถึงผลของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
- เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โดยเฉพาะโรคเอดส์
- อัตราการตั้งครรภ์ในเด็กและเยาวชนลดลง
- สามารถสร้างและปลูกฝังจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชนรักตัวเอง ตลอดจนสามารถปฏิบัติตนในแนวทางที่ถูกต้องเหมาะสม และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้อื่นทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคเอดส์ เพศศึกษา และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคเอดส์ เพศศึกษา และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
0.00
2
เพื่อให้เด็กและเยาวชนเกิดความตระหนักถึงพิษภัย และผลกระทบของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
ตัวชี้วัด :
0.00
3
เพื่อให้มีกลุ่มแกนนำเด็กและเยาวชนที่สามารถให้คำปรึกษาด้านยาเสพติด โรคเอดส์ เพศศึกษา และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในชุมชนได้
ตัวชี้วัด : มีกลุ่มแกนนำเด็กและเยาวชนที่สามารถให้คำปรึกษาด้านโรคเอดส์ เพศศึกษา และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในชุมชนได้
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคเอดส์ เพศศึกษา และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร (2) เพื่อให้เด็กและเยาวชนเกิดความตระหนักถึงพิษภัย และผลกระทบของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร (3) เพื่อให้มีกลุ่มแกนนำเด็กและเยาวชนที่สามารถให้คำปรึกษาด้านยาเสพติด โรคเอดส์ เพศศึกษา และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในชุมชนได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเด็กและเยาวชนบ้านควนเรียนรู้ ป้องกันโรคเอดส์ เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1500-02-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( น.ส.พัชรินทร์ ด้วงผุด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเด็กและเยาวชนบ้านควนเรียนรู้ ป้องกันโรคเอดส์ เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
น.ส.พัชรินทร์ ด้วงผุด
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1500-02-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กและเยาวชนบ้านควนเรียนรู้ ป้องกันโรคเอดส์ เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กและเยาวชนบ้านควนเรียนรู้ ป้องกันโรคเอดส์ เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กและเยาวชนบ้านควนเรียนรู้ ป้องกันโรคเอดส์ เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1500-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กและเยาวชนคืออนาคตของชาติ แต่สังคมไทยกำลังประสบปัญหาที่เกิดขึ้นกับเยาวชนทั้งเรื่องพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสมและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ซึ่งปัญหานี้กลายเป็นปัญหาอันดับต้นๆ ของประเทศ ผลการสำรวจระบุว่าเพศสัมพันธ์ครั้งแรกของวัยรุ่นอยู่ในวัยประมาณ 14-15 ปี ก่อให้เกิดปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ เพราะอยู่ในวัยศึกษาเล่าเรียน ซึ่งนำไปสู่การทำแท้ง โดยแต่ละปีมีตัวเลขระบุว่าไม่ต่ำกว่า 300,000 ราย นอกจากเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ยังมีค่านิยมการทดลองอยู่ด้วยกัน การแลกคู่นอนกระทั่งเลยเถิดไปถึงการขายบริการทางเพศเพื่อนำเงินไปเที่ยวเตร่หรือซื้อของฟุ่มเฟือย ยิ่งไปกว่านั้นการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ก็กำลังลุกลามเข้าสู่กลุ่มวัยรุ่น และพวกเขาเองกำลังกลายเป็นกลุ่มเสี่ยงไปอย่างเลี่ยงไม่ได้ภัยอันตรายเหล่านี้เป็นสัญญาณเตือนว่าถึงเวลาที่เราต้องช่วยกันรื้อฟื้นค่านิยม “อดเปรี้ยวไว้กินหวาน”กลับคืนมาอีกครั้งหนึ่ง เพื่อจะจัดการกับปัญหาพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสมในหมู่วัยรุ่น ปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรมีสาเหตุมาจากการอยากรู้อยากลอง การชักชวนของเพื่อนฝูง การรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ขาดการตระหนักถึงพิษภัยและผลกระทบที่ตามมา สิ่งยั่วยุ ความเจริญทางเทคโนโลยีและการสื่อสาร รวมไปถึงพ่อแม่ผู้ปกครองที่ไม่มีเวลาในการอบรมเลี้ยงดู สภาเด็กและเยาวชนตำบลบ้านควนได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการ “เด็กและเยาวชนบ้านควนเรียนรู้ ป้องกันโรคเอดส์ เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร” โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้เยาวชนได้ตระหนักถึงพิษภัยของปัญหาดังกล่าว และรู้จักหลีกเลี่ยงภัยอันตรายเหล่านั้น เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคเอดส์ เพศศึกษา และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนเกิดความตระหนักถึงพิษภัย และผลกระทบของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
- เพื่อให้มีกลุ่มแกนนำเด็กและเยาวชนที่สามารถให้คำปรึกษาด้านยาเสพติด โรคเอดส์ เพศศึกษา และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในชุมชนได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักถึงผลของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
- เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โดยเฉพาะโรคเอดส์
- อัตราการตั้งครรภ์ในเด็กและเยาวชนลดลง
- สามารถสร้างและปลูกฝังจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชนรักตัวเอง ตลอดจนสามารถปฏิบัติตนในแนวทางที่ถูกต้องเหมาะสม และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้อื่นทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคเอดส์ เพศศึกษา และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคเอดส์ เพศศึกษา และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้เด็กและเยาวชนเกิดความตระหนักถึงพิษภัย และผลกระทบของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้มีกลุ่มแกนนำเด็กและเยาวชนที่สามารถให้คำปรึกษาด้านยาเสพติด โรคเอดส์ เพศศึกษา และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในชุมชนได้ ตัวชี้วัด : มีกลุ่มแกนนำเด็กและเยาวชนที่สามารถให้คำปรึกษาด้านโรคเอดส์ เพศศึกษา และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในชุมชนได้ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคเอดส์ เพศศึกษา และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร (2) เพื่อให้เด็กและเยาวชนเกิดความตระหนักถึงพิษภัย และผลกระทบของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร (3) เพื่อให้มีกลุ่มแกนนำเด็กและเยาวชนที่สามารถให้คำปรึกษาด้านยาเสพติด โรคเอดส์ เพศศึกษา และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในชุมชนได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเด็กและเยาวชนบ้านควนเรียนรู้ ป้องกันโรคเอดส์ เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1500-02-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( น.ส.พัชรินทร์ ด้วงผุด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......