กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก


“ โครงการชุมชนร่วมใจใส่ใจสิ่งแวดล้อมโดยชมรม อสม. รพ.สต.บ้านต้นสน ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านต้นสน

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจใส่ใจสิ่งแวดล้อมโดยชมรม อสม. รพ.สต.บ้านต้นสน ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3330-2-18 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 สิงหาคม 2561 ถึง 20 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนร่วมใจใส่ใจสิ่งแวดล้อมโดยชมรม อสม. รพ.สต.บ้านต้นสน ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจใส่ใจสิ่งแวดล้อมโดยชมรม อสม. รพ.สต.บ้านต้นสน ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจใส่ใจสิ่งแวดล้อมโดยชมรม อสม. รพ.สต.บ้านต้นสน ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3330-2-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 สิงหาคม 2561 - 20 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,990.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาขยะมูลฝอยเป็นปัญหาที่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องต้องให้ความสำคัญและให้ความร่วมมือในการแก้ไขกันอย่างเต็มความสามารถเพราะเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนทุกระดับและนับวันจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากความเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรตลอดจนพฤติกรรมการอุปโภคบริโภคของคนเราได้เปลี่ยนไปจากเดิมที่เคยใช้ตะกร้าเวลาไปจ่ายตลาดใช้ปิ่นโตใส่อาหารใช้ใบบัวหรือใบตองห่ออาหาร แต่ปัจจุบันมีการใช้สินค้าที่มีบรรจุภัณฑ์จำพวกพลาสติก โฟม แก้วกระดาษโลหะ อลูมิเนียมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆทำให้เกิดมูลฝอยสูงขึ้นตามไปด้วยผลกระทบที่ตามมามีทั้งความสูญเสียทางด้านสิ่งแวดล้อมก่อให้เกิดมลพิษทางน้ำดินเสื่อมสภาพความเสียหายจากเหตุรำคาญ ส่งกลิ่นเหม็นรบกวนรวมถึงเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์พาหนะนำโรค ความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจและสิ้นเปลืองงบประมาณของรัฐที่ใช้ในการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอย ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่จัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่กำลังพัฒนา ซึ่งประชาชนยังให้ความสนใจในการปฏิบัติตัวด้านสุขภาพอนามัยไม่ดีเท่าที่ควร ประกอบกับประชาชนส่วนใหญ่ที่มีปัญหาด้านสุขภาพอนามัย มักจะอยู่ในกลุ่มที่มีสถานะทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีพอ จึงทำให้เกิดโรคติดเชื้อทางอาหารและน้ำ เช่น โรคอุจจาระร่วง บิด อาหารเป็นพิษ ไทฟอยด์ และโรคที่เกิดจากสัตว์นำโรค เช่น โรคไข้เลือดออก เลปโตสไปโรซีส ปัญหาการเกิดโรคในชุมชนประกอบด้วยองค์ประกอบหลายด้าน เช่นสภาพแวดล้อมไม่ถูกสุขลักษณะ ทำให้มีแหล่งเพาะพันธุ์แมลงนำโรคและที่อยู่อาศัยสัตว์นำโรคกระจายอยู่ทั่วไป
  ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสนได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง จึงเห็นควรจัดทำโครงการชุมชนร่วมใจใส่ใจสิ่งแวดล้อมโดยชมรม อสม. รพ.สต.บ้านต้นสน ปีงบประมาณ 2561 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และการใช้ประโยชน์จากขยะแต่ละประเภทและรักษาสภาพสิ่งแวดล้อมในชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนและเพื่อป้องกันการเกิดโรคติดต่อ ที่นำโดยสัตว์และแมลงเป็นสื่อต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และการใช้ประโยชน์จากขยะแต่ละ ประเภท
  2. ข้อที่ 2 เพื่อรักษาสภาพสิ่งแวดล้อมในชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน
  3. ข้อที่ 3. เพื่อป้องกันโรคติดต่อที่นำโดยสัตว์และแมลงเป็นสื่อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำชุมชน, อสม.เพื่อประชาสัมพันธ์โครงการ
  2. จัดกิจกรรมถอดบทเรียน ปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชนแต่ละหมู่บ้าน จำนวน 3 ครั้ง
  3. จัดอบรมอบรมเสริมพลัง ผู้นำชุมชน,อสม.และประชาชนหมู่ที่ ๔ บ้านต้นสน หมู่ที่ ๘ บ้านทุ่งโต๊ะหย๊ะและหมู่ที่ ๑๓ บ้านทุ่งนายพัน เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการคัดแยกขยะ จำนวน 3 ครั้ง
  4. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่สมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการในการดัดแปลงหรือใช้ประโยชน์จากขยะ เป็นรายได้ จำนวน 3 ครั้ง โดยแบ่งเป็นรุ่น ละ 40 คน
  5. จัดกิจกรรมรณรงค์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่หมู่ที่ ๔ บ้านต้นสน หมู่ที่ ๘ บ้านทุ่งโต๊ะหย๊ะ และ หมู่ที่ ๑๓ บ้านทุ่งนายพัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 165
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และนำขยะแต่ละประเภทกลับการใช้       ประโยชน์ได้
  2. ประชาชนมีส่วนร่วมในการรักษาสภาพสิ่งแวดล้อมในชุมชนมากขึ้น
  3. โรคติดต่อที่นำโดยสัตว์และแมลงเป็นสื่อลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และการใช้ประโยชน์จากขยะแต่ละ ประเภท
ตัวชี้วัด : ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และสามารถดัดแปลง หรือใช้ประโยชน์จากขยะเป็นรายได้
490.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อรักษาสภาพสิ่งแวดล้อมในชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีส่วนร่วมในการรักษาสภาพแวดล้อมของตนเอง โดยการลดการทิ้งขยะที่บ้านและสาธารณะ ดูจากความสะอาดครัวเรือนและชุมชน
490.00

 

3 ข้อที่ 3. เพื่อป้องกันโรคติดต่อที่นำโดยสัตว์และแมลงเป็นสื่อ
ตัวชี้วัด : หมู่บ้าน / ชุมชน มีอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่นำโดยสัตว์และแมลงเป็นสื่อ ลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 165
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 165
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1  เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และการใช้ประโยชน์จากขยะแต่ละ ประเภท (2)  ข้อที่ 2 เพื่อรักษาสภาพสิ่งแวดล้อมในชุมชน  โดยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน (3) ข้อที่ 3. เพื่อป้องกันโรคติดต่อที่นำโดยสัตว์และแมลงเป็นสื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำชุมชน, อสม.เพื่อประชาสัมพันธ์โครงการ  (2) จัดกิจกรรมถอดบทเรียน ปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชนแต่ละหมู่บ้าน จำนวน 3 ครั้ง  (3) จัดอบรมอบรมเสริมพลัง ผู้นำชุมชน,อสม.และประชาชนหมู่ที่ ๔ บ้านต้นสน หมู่ที่ ๘                  บ้านทุ่งโต๊ะหย๊ะและหมู่ที่ ๑๓ บ้านทุ่งนายพัน เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการคัดแยกขยะ                  จำนวน 3 ครั้ง (4) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่สมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการในการดัดแปลงหรือใช้ประโยชน์จากขยะ                  เป็นรายได้ จำนวน 3 ครั้ง โดยแบ่งเป็นรุ่น ละ 40 คน (5) จัดกิจกรรมรณรงค์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่หมู่ที่ ๔ บ้านต้นสน หมู่ที่ ๘ บ้านทุ่งโต๊ะหย๊ะ และ              หมู่ที่ ๑๓ บ้านทุ่งนายพัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนร่วมใจใส่ใจสิ่งแวดล้อมโดยชมรม อสม. รพ.สต.บ้านต้นสน ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3330-2-18

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านต้นสน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด