โครงการดูแลใกล้ชิด ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง สุขภาพดีชีวีเป็นสุข
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการดูแลใกล้ชิด ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง สุขภาพดีชีวีเป็นสุข ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสุปาณี ดำจุติ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการดูแลใกล้ชิด ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง สุขภาพดีชีวีเป็นสุข
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1500-03-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลใกล้ชิด ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง สุขภาพดีชีวีเป็นสุข จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลใกล้ชิด ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง สุขภาพดีชีวีเป็นสุข
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลใกล้ชิด ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง สุขภาพดีชีวีเป็นสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1500-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบัน ปัญหาด้านเศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะวิกฤติ การส่งเสริมกิจกรรมด้านสุขภาพเพื่อให้ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง เข้าถึงการบริการสาธารณะ จึงเป็นภาระของครอบครัวที่ต้องดูแลด้านต่างๆให้กับผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียงส่วนหนึ่งผู้ดูแลผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียงยังขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ทำให้ผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงบางคนมีความรู้สึกท้อแท้ เหนื่อยหน่ายต่อชีวิต ขาดกำลังใจในการดำรงชีวิต บางคนถึงกับไม่อยากมีชีวิตอยู่ต่อไป การเยี่ยมบ้านผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง เป็นการบริการด้านสุขภาพในเชิงรุกอีกวิธีหนึ่ง เป็นวิธีที่มีความสำคัญต่อการแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนในยุคปัจจุบัน ซึ่งเป็นยุคที่กลุ่มผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นมาก
ในเขตพื้นที่ตำบลบ้านควนมีจำนวนหมู่บ้าน 6 หมู่บ้าน จำนวนประชากรทั้งหมด 4,427 คน มีจำนวนผู้พิการทั้งหมด ๗๖ คน คิดเป็นร้อยละ 1.72 ของประชากรทั้งหมด และมีผู้พิการแยกประเภท ดังนี้ ประเภทพิการทางการมองเห็น ประเภทพิการทางการได้ยิน/สื่อความหมาย ประเภทพิการทางด้านการเคลื่อนไหว/กาย ประเภทพิการทางด้านจิตและพฤติกรรม ประเภทพิการทางด้านสติปัญญา และมีความพิการซ้ำซ้อน ซึ่งการดำเนินงานในด้านการดูแลผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียงยังขาดความต่อเนื่อง รวมไปถึงความครอบคลุมในการดูแลผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียงยังไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด
ดังนั้น เพื่อให้มีการดูแลผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง อย่างต่อเนื่องยั่งยืนชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบ้านควน จึงได้จัดทำโครงการ “ดูแลใกล้ชิด ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง สุขภาพดีชีวีเป็นสุข” ขึ้น เพื่อให้ อสม. และผู้ดูแลผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง มีองค์ความรู้ในการดูแล ฟื้นฟูสมรรถภาพทางการเคลื่อนไหว และทักษะเยี่ยมบ้านที่ได้มาตรฐาน ครอบคลุมและต่อเนื่อง และอีกทั้งผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ได้รับการดูแลสุขภาพ การเฝ้าระวัง ลดความพิการซ้ำซ้อน อยู่อย่างมีคุณภาพ และส่งผลให้ประชาชนในชุมชน มีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ได้รับการดูแล/การฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างทั่วถึง และมีประสิทธิภาพ
- เพื่อให้ อสม. สามารถดูแลพิการ ผู้ป่วยติดเตียง อย่างทั่วถึง ตัวชี้วัด : อสม. สามารถดูแลพิการ ผู้ป่วยติดเตียง อย่างทั่วถึง ร้อยละ ๖๐
- เพื่อให้ครอบครัว/ผู้ดูแลผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง มีทักษะในการดูแล/การฟื้นฟูสมรรถภาพ มีการเฝ้าระวังป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการซ้ำซ้อน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียงในตำบลบ้านควนได้รับการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพ
- ครอบครัว/ผู้ดูแลผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง มีความความเข้าใจและมีทักษะในการดูแล/การฟื้นฟูสมรรถภาพ มีการเฝ้าระวังป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการซ้ำซ้อน
- ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง มีสุขภาพดีชีวีเป็นสุข ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการซ้ำซ้อน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ได้รับการดูแล/การฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างทั่วถึง และมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ได้รับการดูแล/การฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างทั่วถึง และมีประสิทธิภาพ ร้อยละ ๖๐
0.00
2
เพื่อให้ อสม. สามารถดูแลพิการ ผู้ป่วยติดเตียง อย่างทั่วถึง ตัวชี้วัด : อสม. สามารถดูแลพิการ ผู้ป่วยติดเตียง อย่างทั่วถึง ร้อยละ ๖๐
ตัวชี้วัด : อสม. สามารถดูแลพิการ ผู้ป่วยติดเตียง อย่างทั่วถึง ร้อยละ ๖๐
0.00
3
เพื่อให้ครอบครัว/ผู้ดูแลผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง มีทักษะในการดูแล/การฟื้นฟูสมรรถภาพ มีการเฝ้าระวังป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการซ้ำซ้อน
ตัวชี้วัด : ครอบครัว/ผู้ดูแล สามารถทำแบบประเมินความรู้ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๖๐
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ได้รับการดูแล/การฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างทั่วถึง และมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อให้ อสม. สามารถดูแลพิการ ผู้ป่วยติดเตียง อย่างทั่วถึง ตัวชี้วัด : อสม. สามารถดูแลพิการ ผู้ป่วยติดเตียง อย่างทั่วถึง ร้อยละ ๖๐ (3) เพื่อให้ครอบครัว/ผู้ดูแลผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง มีทักษะในการดูแล/การฟื้นฟูสมรรถภาพ มีการเฝ้าระวังป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการซ้ำซ้อน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการดูแลใกล้ชิด ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง สุขภาพดีชีวีเป็นสุข จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1500-03-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุปาณี ดำจุติ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการดูแลใกล้ชิด ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง สุขภาพดีชีวีเป็นสุข ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสุปาณี ดำจุติ
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1500-03-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลใกล้ชิด ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง สุขภาพดีชีวีเป็นสุข จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลใกล้ชิด ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง สุขภาพดีชีวีเป็นสุข
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลใกล้ชิด ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง สุขภาพดีชีวีเป็นสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1500-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบัน ปัญหาด้านเศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะวิกฤติ การส่งเสริมกิจกรรมด้านสุขภาพเพื่อให้ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง เข้าถึงการบริการสาธารณะ จึงเป็นภาระของครอบครัวที่ต้องดูแลด้านต่างๆให้กับผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียงส่วนหนึ่งผู้ดูแลผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียงยังขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ทำให้ผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงบางคนมีความรู้สึกท้อแท้ เหนื่อยหน่ายต่อชีวิต ขาดกำลังใจในการดำรงชีวิต บางคนถึงกับไม่อยากมีชีวิตอยู่ต่อไป การเยี่ยมบ้านผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง เป็นการบริการด้านสุขภาพในเชิงรุกอีกวิธีหนึ่ง เป็นวิธีที่มีความสำคัญต่อการแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนในยุคปัจจุบัน ซึ่งเป็นยุคที่กลุ่มผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นมาก
ในเขตพื้นที่ตำบลบ้านควนมีจำนวนหมู่บ้าน 6 หมู่บ้าน จำนวนประชากรทั้งหมด 4,427 คน มีจำนวนผู้พิการทั้งหมด ๗๖ คน คิดเป็นร้อยละ 1.72 ของประชากรทั้งหมด และมีผู้พิการแยกประเภท ดังนี้ ประเภทพิการทางการมองเห็น ประเภทพิการทางการได้ยิน/สื่อความหมาย ประเภทพิการทางด้านการเคลื่อนไหว/กาย ประเภทพิการทางด้านจิตและพฤติกรรม ประเภทพิการทางด้านสติปัญญา และมีความพิการซ้ำซ้อน ซึ่งการดำเนินงานในด้านการดูแลผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียงยังขาดความต่อเนื่อง รวมไปถึงความครอบคลุมในการดูแลผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียงยังไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด
ดังนั้น เพื่อให้มีการดูแลผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง อย่างต่อเนื่องยั่งยืนชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบ้านควน จึงได้จัดทำโครงการ “ดูแลใกล้ชิด ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง สุขภาพดีชีวีเป็นสุข” ขึ้น เพื่อให้ อสม. และผู้ดูแลผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง มีองค์ความรู้ในการดูแล ฟื้นฟูสมรรถภาพทางการเคลื่อนไหว และทักษะเยี่ยมบ้านที่ได้มาตรฐาน ครอบคลุมและต่อเนื่อง และอีกทั้งผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ได้รับการดูแลสุขภาพ การเฝ้าระวัง ลดความพิการซ้ำซ้อน อยู่อย่างมีคุณภาพ และส่งผลให้ประชาชนในชุมชน มีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ได้รับการดูแล/การฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างทั่วถึง และมีประสิทธิภาพ
- เพื่อให้ อสม. สามารถดูแลพิการ ผู้ป่วยติดเตียง อย่างทั่วถึง ตัวชี้วัด : อสม. สามารถดูแลพิการ ผู้ป่วยติดเตียง อย่างทั่วถึง ร้อยละ ๖๐
- เพื่อให้ครอบครัว/ผู้ดูแลผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง มีทักษะในการดูแล/การฟื้นฟูสมรรถภาพ มีการเฝ้าระวังป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการซ้ำซ้อน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียงในตำบลบ้านควนได้รับการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพ
- ครอบครัว/ผู้ดูแลผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง มีความความเข้าใจและมีทักษะในการดูแล/การฟื้นฟูสมรรถภาพ มีการเฝ้าระวังป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการซ้ำซ้อน
- ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง มีสุขภาพดีชีวีเป็นสุข ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการซ้ำซ้อน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ได้รับการดูแล/การฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างทั่วถึง และมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ได้รับการดูแล/การฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างทั่วถึง และมีประสิทธิภาพ ร้อยละ ๖๐ |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ อสม. สามารถดูแลพิการ ผู้ป่วยติดเตียง อย่างทั่วถึง ตัวชี้วัด : อสม. สามารถดูแลพิการ ผู้ป่วยติดเตียง อย่างทั่วถึง ร้อยละ ๖๐ ตัวชี้วัด : อสม. สามารถดูแลพิการ ผู้ป่วยติดเตียง อย่างทั่วถึง ร้อยละ ๖๐ |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ครอบครัว/ผู้ดูแลผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง มีทักษะในการดูแล/การฟื้นฟูสมรรถภาพ มีการเฝ้าระวังป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการซ้ำซ้อน ตัวชี้วัด : ครอบครัว/ผู้ดูแล สามารถทำแบบประเมินความรู้ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๖๐ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง ได้รับการดูแล/การฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างทั่วถึง และมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อให้ อสม. สามารถดูแลพิการ ผู้ป่วยติดเตียง อย่างทั่วถึง ตัวชี้วัด : อสม. สามารถดูแลพิการ ผู้ป่วยติดเตียง อย่างทั่วถึง ร้อยละ ๖๐ (3) เพื่อให้ครอบครัว/ผู้ดูแลผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง มีทักษะในการดูแล/การฟื้นฟูสมรรถภาพ มีการเฝ้าระวังป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการซ้ำซ้อน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการดูแลใกล้ชิด ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียง สุขภาพดีชีวีเป็นสุข จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1500-03-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุปาณี ดำจุติ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......