กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการหนูน้อย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพระพุทธ
รหัสโครงการ 60-8287-3-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพระพุทธ
วันที่อนุมัติ 11 มกราคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2560
งบประมาณ 26,405.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพระพุทธ
พี่เลี้ยงโครงการ อบต.เทพา
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.82,100.94place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 27 มี.ค. 2560 15 ก.ย. 2560 25,905.00
รวมงบประมาณ 25,905.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (25,905.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (26,405.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 109 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในปีที่ผ่านมา พบว่า เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีภาวะโภชนาการไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานถึงร้อยละ 30 ซึ่งทั้งสองเรื่องนี้เป็นเรื่องที่ทุกฝ่ายควรให้ความร่วมมือในการดูแลเด็กเพื่อให้เด้กมีภาวะโภชนาการและพัฒนาการที่ดีสมวัย
ดังนั้นศุนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพระพุทธ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการหนูน้อย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจด้านพัฒนาการเด็กปฐมวัยมากยิ่งขึ้น 2. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการประเมินพัฒนาการเด็กในกลุ่มอายุ 32 เดือน และ 40 เดือน โดยเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง 3.ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลโภชนาการของเด้กปฐมวัยอย่างถูกวิธี 4. ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปใช้ในชีวิตประจำวัน 5. เด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำ/สูงกว่าเกณฑ์ได้รับการแก้ปัญหาและส่งเสริมให้มีโภชนาการเหมาะสม
  1. เด็กปฐมวัยกลุ่มอายุ 30 - 42 เดือน มีพัฒนาการที่ดีสมวัยเป้าหมาย ร้อยละ 80
  2. เด็กกลุ่มภาวะโภชนาการไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน ได้รับการแก้ไขให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน เป้าหมาย ร้อยละ 60
  3. ผู้ปกครองให้ความร่วมมือในด้านการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็ก เป้าหมาย ร้อยละ 65
  4. ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องพัฒนาการเด็กมากขึ้น ร้อยละ70
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. คัดกรองเด็ก โดยชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง แบ่งเด็กเป็น 3 กลุ่มโดยดูผลการคัดกรอง
  2. จัดอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเด็กในการดูแลพัฒนาการ โภชนาการ
  3. ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เด็ก เพื่อดูผลการปรับปรุงหลังให้ความรู้ผู้ปกครองนำไปปรับใช้
  4. สรุปข้อมูล ประเมินผล
  5. ประกวดพ่อแม่ส่งเสริมพัฒนาการเจริญเติบโตของลูกน้อย
  6. มอบเกียรติบัตร
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจด้านพัฒนาการเด็กปฐมวัยมากยิ่งขึ้น
  2. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการประเมินพัฒนาการเด็กในกลุ่มอายุ 32 เดือน และ 40 เดือน โดยเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง ทำให้มีความรู้ในการส่งเสริมพัฒนาการเด้กที่อยู่ในความดูแล
  3. ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลโภชนาการของเด้กปฐมวัยอย่างถูกวิธี
  4. ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปใช้ในชีวิตประจำวัน
  5. เด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำ/สูงกว่าเกณฑ์ได้รับการแก้ปัญหาและส่งเสริมให้มีโภชนาการเหมาะสม
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ก.พ. 2560 16:22 น.