แก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในนักเรียน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ แก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในนักเรียน ”
ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ แก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในนักเรียน
ที่อยู่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L7575-1-24 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"แก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในนักเรียน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
แก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในนักเรียน
บทคัดย่อ
โครงการ " แก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในนักเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L7575-1-24 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเปลี่ยนแปลงของสังคมปัจจุบันส่งผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียน พบว่าเด็กวัยเรียนมีภาวะอ้วนเพิ่มมากขึ้น สาเหตุสำคัญมาจาก พฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสม จากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียนเขตสุขภาพที่ 12 ปี 2559 พบว่าเด็กวัยเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 9.18 (เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 10) ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปี 2558 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กวัยเรียนมีภาวะเตี้ยและผอมในอัตราที่สูงเกินร้อยละ 10 โดยพบภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย ร้อยละ 19.61 และภาวะค่อนข้างผอมและผอม ร้อยละ 13.50 ทั้งนี้มีเด็กวัยเรียนสูงดี สมส่วน ร้อยละ 60.33 ซึ่งต่ำกว่าค่าเป้าหมาย คือไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
จากปัญหาดังกล่าวหากไม่ดำเนินการแก้ไขจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโต พัฒนาการร่างกายและสติปัญญาช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพ และส่งผลกระทบในระยะยาวต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิต
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำโครงการแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในนักเรียนขึ้น เพื่อแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในนักเรียน ระดับประถมศึกษาในโรงเรียนในเขตเทศบาลตำบลแม่ขรี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในนักเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
153
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีภาวะโภชนาการเหมาะสมตามวัย
- นักเรียน ครูและผู้ปกครอง ได้รับความรู้เกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
การดำเนินงาน ดังนี้
- ประเมินภาวะโภชนาการนักเรียน โดยการชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง
- ให้ความรู้เรื่องโภชนาการแก่นักเรียน ครูและผู้ปกครองนักเรียนที่มีน้ำหนัก/ส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์
โดยจัดทำเอกสารแผ่นพับ/จดหมาย
- ประชุมชี้แจงวิธีการดำเนินโครงการแก่ครู
- ดูแลให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายได้รับอาหารเสริม(นมถั่วเหลืองวันละ 1 กล่อง ทุกวัน (เฉลี่ยคนละ 28 กล่อง)
ผลการดำเนินงาน
- นักเรียนได้รับการแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการ จำนวน 151 คน โดย
- นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย มีน้ำหนัก/ส่วนสูง อยู่ในเกณฑ์ปกติ จำนวน 65 คน
คิดเป็นร้อยละ 43.05
- นักเรียนที่ยังมีน้ำหนัก/ส่วนสูง ต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ จำนวน 86 คน
คิดเป็นร้อยละ 56.95
โรงเรียนบ้านแม่ขรี(สวิงประชาสรรค์) จำนวน 94 คน
- นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย มีน้ำหนัก/ส่วนสูง อยู่ในเกณฑ์ปกติ จำนวน 42 คน
คิดเป็นร้อยละ 47.73
- นักเรียนที่ยังมีน้ำหนัก/ส่วนสูง ต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ จำนวน 46 คน
คิดเป็นร้อยละ 52.27
หมายเหตุ : ไม่ได้ประเมินผล 6 คน เนื่องจากนักเรียนขาดเรียน
โรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลแม่ขรี จำนวน 57 คน โดย
- นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย มีน้ำหนัก/ส่วนสูง อยู่ในเกณฑ์ปกติ จำนวน 23 คน
คิดเป็นร้อยละ 40.35
- นักเรียนที่ยังมีน้ำหนัก/ส่วนสูง ต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ จำนวน 34 คน
คิดเป็นร้อยละ 59.65
หมายเหตุ : นักเรียนกลุ่มเป้าหมายไม่ได้รับนม 1 คน เนื่องจากการส่งต่อข้อมูลในโรงเรียนผิดพลาด
- จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 151 คน
การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 31,000 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง 31,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
ปัญหา/อุปสรรค(ระบุ)
- ข้อมูลน้ำหนัก/ส่วนสูงของนักเรียนที่โรงเรียนมอบให้ บางส่วนไม่ได้มีการแปลผลรายบุคคลให้ด้วย ทำให้ผู้จัดทำโครงการต้องแปลผลเอง
- ข้อมูลบางส่วนผิดพลาด เช่น ส่วนสูงหลังดำเนินโครงการลดลง น้ำหนัก/ส่วนสูงหลังดำเนินการเพิ่มมากผิดปกติ กรอกข้อมูลน้ำหนัก/ส่วนสูงผิดพลาด
- ครูบางคนไม่เข้าใจวิธีการแปลผลน้ำหนัก/ส่วนสูง ทำให้การแปลผลคลาดเคลื่อน เช่น คิดอายุเด็กแบบนับเป็นปี ไม่นับเดือน
แนวทางการแก้ไข/โอกาสพัฒนา
- การแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในนักเรียน จำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากหลายๆฝ่าย ทั้งโรงเรียน ครู ผู้ปกครองและตัวนักเรียนเอง วิธีการในการแก้ไขปัญหามีความสำคัญ ควรปฏิบัติให้มีความเหมาะสมและเป็นไปตามแนวทางที่กำหนด
- ครู เป็นบุคคลสำคัญซึ่งมีหน้าที่ในเรื่องการประเมินน้ำหนัก/ส่วนสูงของนักเรียน ซึ่งข้อมูลดังกล่าวมีความสำคัญสำหรับการประเมินและแก้ไขปัญหาโภชนาการของนักเรียน จึงจำเป็นที่จะต้องเข้าใจและควรประเมินด้วยความละเอียดรอบคอบ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง
- ควรจัดโครงการดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง โดยโรงเรียนควรมีบทบาทเพิ่มขึ้นในการแก้ไขปัญหาแก่นักเรียนที่ยังมีน้ำหนัก/ส่วนสูง ต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ ทั้งรายเก่าและรายใหม่ เนื่องจากครูในโรงเรียนจะสัมผัสใกล้ชิดและทราบข้อมูลของนักเรียนแต่ละคน และสามารถติดตามประเมินผลความเปลี่ยนแปลงของนักเรียนได้อย่างต่อเนื่อง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในนักเรียน
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
153
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
153
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในนักเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
แก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในนักเรียน จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L7575-1-24
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ แก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในนักเรียน ”
ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L7575-1-24 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"แก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในนักเรียน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
แก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในนักเรียน
บทคัดย่อ
โครงการ " แก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในนักเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L7575-1-24 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเปลี่ยนแปลงของสังคมปัจจุบันส่งผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียน พบว่าเด็กวัยเรียนมีภาวะอ้วนเพิ่มมากขึ้น สาเหตุสำคัญมาจาก พฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสม จากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียนเขตสุขภาพที่ 12 ปี 2559 พบว่าเด็กวัยเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 9.18 (เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 10) ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปี 2558 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กวัยเรียนมีภาวะเตี้ยและผอมในอัตราที่สูงเกินร้อยละ 10 โดยพบภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย ร้อยละ 19.61 และภาวะค่อนข้างผอมและผอม ร้อยละ 13.50 ทั้งนี้มีเด็กวัยเรียนสูงดี สมส่วน ร้อยละ 60.33 ซึ่งต่ำกว่าค่าเป้าหมาย คือไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
จากปัญหาดังกล่าวหากไม่ดำเนินการแก้ไขจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโต พัฒนาการร่างกายและสติปัญญาช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพ และส่งผลกระทบในระยะยาวต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิต
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำโครงการแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในนักเรียนขึ้น เพื่อแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในนักเรียน ระดับประถมศึกษาในโรงเรียนในเขตเทศบาลตำบลแม่ขรี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในนักเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 153 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีภาวะโภชนาการเหมาะสมตามวัย
- นักเรียน ครูและผู้ปกครอง ได้รับความรู้เกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
การดำเนินงาน ดังนี้
- ประเมินภาวะโภชนาการนักเรียน โดยการชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง
- ให้ความรู้เรื่องโภชนาการแก่นักเรียน ครูและผู้ปกครองนักเรียนที่มีน้ำหนัก/ส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์
โดยจัดทำเอกสารแผ่นพับ/จดหมาย
- ประชุมชี้แจงวิธีการดำเนินโครงการแก่ครู
- ดูแลให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายได้รับอาหารเสริม(นมถั่วเหลืองวันละ 1 กล่อง ทุกวัน (เฉลี่ยคนละ 28 กล่อง)
ผลการดำเนินงาน
- นักเรียนได้รับการแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการ จำนวน 151 คน โดย
- นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย มีน้ำหนัก/ส่วนสูง อยู่ในเกณฑ์ปกติ จำนวน 65 คน
คิดเป็นร้อยละ 43.05
- นักเรียนที่ยังมีน้ำหนัก/ส่วนสูง ต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ จำนวน 86 คน
คิดเป็นร้อยละ 56.95
โรงเรียนบ้านแม่ขรี(สวิงประชาสรรค์) จำนวน 94 คน
- นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย มีน้ำหนัก/ส่วนสูง อยู่ในเกณฑ์ปกติ จำนวน 42 คน
คิดเป็นร้อยละ 47.73
- นักเรียนที่ยังมีน้ำหนัก/ส่วนสูง ต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ จำนวน 46 คน
คิดเป็นร้อยละ 52.27
หมายเหตุ : ไม่ได้ประเมินผล 6 คน เนื่องจากนักเรียนขาดเรียน
โรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลแม่ขรี จำนวน 57 คน โดย
- นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย มีน้ำหนัก/ส่วนสูง อยู่ในเกณฑ์ปกติ จำนวน 23 คน
คิดเป็นร้อยละ 40.35
- นักเรียนที่ยังมีน้ำหนัก/ส่วนสูง ต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ จำนวน 34 คน
คิดเป็นร้อยละ 59.65
หมายเหตุ : นักเรียนกลุ่มเป้าหมายไม่ได้รับนม 1 คน เนื่องจากการส่งต่อข้อมูลในโรงเรียนผิดพลาด
- จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 151 คน
การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 31,000 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง 31,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
ปัญหา/อุปสรรค(ระบุ)
- ข้อมูลน้ำหนัก/ส่วนสูงของนักเรียนที่โรงเรียนมอบให้ บางส่วนไม่ได้มีการแปลผลรายบุคคลให้ด้วย ทำให้ผู้จัดทำโครงการต้องแปลผลเอง
- ข้อมูลบางส่วนผิดพลาด เช่น ส่วนสูงหลังดำเนินโครงการลดลง น้ำหนัก/ส่วนสูงหลังดำเนินการเพิ่มมากผิดปกติ กรอกข้อมูลน้ำหนัก/ส่วนสูงผิดพลาด
- ครูบางคนไม่เข้าใจวิธีการแปลผลน้ำหนัก/ส่วนสูง ทำให้การแปลผลคลาดเคลื่อน เช่น คิดอายุเด็กแบบนับเป็นปี ไม่นับเดือน
แนวทางการแก้ไข/โอกาสพัฒนา
- การแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในนักเรียน จำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากหลายๆฝ่าย ทั้งโรงเรียน ครู ผู้ปกครองและตัวนักเรียนเอง วิธีการในการแก้ไขปัญหามีความสำคัญ ควรปฏิบัติให้มีความเหมาะสมและเป็นไปตามแนวทางที่กำหนด
- ครู เป็นบุคคลสำคัญซึ่งมีหน้าที่ในเรื่องการประเมินน้ำหนัก/ส่วนสูงของนักเรียน ซึ่งข้อมูลดังกล่าวมีความสำคัญสำหรับการประเมินและแก้ไขปัญหาโภชนาการของนักเรียน จึงจำเป็นที่จะต้องเข้าใจและควรประเมินด้วยความละเอียดรอบคอบ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง
- ควรจัดโครงการดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง โดยโรงเรียนควรมีบทบาทเพิ่มขึ้นในการแก้ไขปัญหาแก่นักเรียนที่ยังมีน้ำหนัก/ส่วนสูง ต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ ทั้งรายเก่าและรายใหม่ เนื่องจากครูในโรงเรียนจะสัมผัสใกล้ชิดและทราบข้อมูลของนักเรียนแต่ละคน และสามารถติดตามประเมินผลความเปลี่ยนแปลงของนักเรียนได้อย่างต่อเนื่อง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในนักเรียน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 153 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 153 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในนักเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
แก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในนักเรียน จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L7575-1-24
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......