ลด ละ เลิกการใช้โฟม
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ลด ละ เลิกการใช้โฟม ”
ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาววรัญพัชร์ พงษ์พานิชย์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ ลด ละ เลิกการใช้โฟม
ที่อยู่ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5200-1-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"ลด ละ เลิกการใช้โฟม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ลด ละ เลิกการใช้โฟม
บทคัดย่อ
โครงการ " ลด ละ เลิกการใช้โฟม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5200-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โฟม (Fome) เป็นผลิตภัณฑ์จากพลาสติกที่ทำการใช้สารเร่ง(additive) หรือยางพอง (Blowing Agents) ทำให้เกิดการฟูและพองตัว จาการใช้ความร้อนสูง ประกอบกับการอัดลงในแม่พิมพ์ (Mold) ที่มีรูปร่างต่างๆ
ที่ต้องการคุณสมบัติที่ได้คือ มีน้ำหนักเบา ทำเป็นรูปลักษณะต่างๆ ได้ดี และเป็นฉนวนความร้อนจึงทำให้โฟมเป็นที่นิยมในการนำมาเป็นภาชนะบรรจุหรือหีบห่ออาหารทั่วไป ทั้งอาหารสด ผักสด อาหารพร้อมปรุง และอาหารปรุงสำเร็จรูป ทั้งนี้เพื่อให้เกิดการถนอมอาหารที่คงสภาพอยู่ได้นานสะดวกในการขนส่งและวางจำหน่าย ปัจจุบันพบว่า ผู้ประกอบการค้าอาหารมักนิยมใช้กล่องโฟมเป็นภาชนะบรรจุอาหาร เช่น ข้าวผัด ข้าวผัดกระเพราไข่ดาว กระเพาะปลา เป็นต้น เนื่องจากสะดวก ใช้ง่าย รวดเร็ว และราคาถูก อย่างไรก็ตามการนำภาชนะโฟมมาบรรจุอาหารร้อนจำเป็นต้องใช้อย่างระมัดระวังเนื่องจากภาชนะโฟมที่สัมผัสกับอาหารร้อนจัดเป็นเวลานาน อาจทำให้โฟมเสียรูปทรงและอาจหลอมละลายจนมีสารสไตรีน ปนเปื้อนมากับอาหารได้ โดยปริมาณการละลายออกมาของสารสไตรีน จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัย 3 ชนิด คือไขมันในอาหารระยะเวลา และอุณหภูมิระหว่างการสัมผัสของอาหารกับภาชนะ ซึ่งอาหารที่มีไขมันสูงจะทำให้มีการละลายของสารสไตรีนออกมามากกว่าอาหารที่ไม่มีไขมันเป็นส่วนประกอบ
ตามนโยบายการบริหารจัดการขยะของรัฐบาล ที่ได้กำหนดนโยบายในการรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากร และการสร้างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์กับการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่องดการใช้ภาชนะโฟมใส่อาหาร เนื่องมาจากมีสารก่อให้เกิดโรคมะเร็งซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพแล้ว ยังส่งผลให้เกิดปัญหาอย่างรุนแรงต่อสิ่งแวดล้อม คือไม่ย่อยสลายง่ายและใช้เวลาย่อยสลายนานเกิน 100 ปี หากเผาไหม้ก็จะก่อให้เกิดภาวะก๊าซเรือนกระจกอีกทางหนึ่งด้วย ดังนั้น การเลิกใช้ภาชนะโฟมในการบรรจุอาหารร้อน หรืออาหารทอด หันมาใช้วัสดุธรรมชาติเช่น ใบตอง ชานอ้อย กระดาษ foodgrade พลาสติกชีวภาพก็มีความจำเป็นอย่างมากที่จะช่วยลดอันตรายจากการใช้ภาชนะโฟม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลนาทวีจึงเล็งเห็นถึงความสำคัญของภัยร้ายที่เกิดจากโฟม จึงได้จัดทำโครงการลด ละ เลิกการใช้โฟม เพื่อส่งเสริมให้เกิดความรู้ความเข้าใจของอันตรายที่เกิดจากการใช้ผลิตภัณฑ์จากโฟม และการส่งเสริมการลดการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร เพื่อการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ความเข้าใจให้กับองค์กรในการลด ละเลิก การใช้โฟมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภค
- 2. เพื่อลดปัญหาขยะที่เกิดจากการใช้ผลิตภัณฑ์โฟม
- 3. เพื่อลดค่านิยมแบบเดิมจากการใช้ผลิตภัณฑ์จากโฟมและเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทดแทนจากธรรมชาติ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มผู้บริโภค ได้แก่ สถานที่ราชการ และเอกชนมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินการให้กับองค์กรในด้านการลด ละเลิก การใช้โฟมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภค
- เพื่อลดปัญหาขยะที่เกิดจากการใช้ผลิตภัณฑ์โฟม และเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทดแทนจากธรรมชาติ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ความเข้าใจให้กับองค์กรในการลด ละเลิก การใช้โฟมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภค
ตัวชี้วัด : จำนวนสมาชิกที่เข้ารับการฝึกอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง
50.00
2
2. เพื่อลดปัญหาขยะที่เกิดจากการใช้ผลิตภัณฑ์โฟม
ตัวชี้วัด : องค์กรต้นแบบ “องค์กรปลอดโฟม” อย่างน้อย 1 แห่งในเขตเทศบาลตำบลนาทวี
1.00
3
3. เพื่อลดค่านิยมแบบเดิมจากการใช้ผลิตภัณฑ์จากโฟมและเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทดแทนจากธรรมชาติ
ตัวชี้วัด : มีกิจกรรมรณรงค์การลด ละ เลิกการใช้โฟมในเขตเทศบาลตำบลนาทวี
2.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ความเข้าใจให้กับองค์กรในการลด ละเลิก การใช้โฟมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภค (2) 2. เพื่อลดปัญหาขยะที่เกิดจากการใช้ผลิตภัณฑ์โฟม (3) 3. เพื่อลดค่านิยมแบบเดิมจากการใช้ผลิตภัณฑ์จากโฟมและเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทดแทนจากธรรมชาติ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ลด ละ เลิกการใช้โฟม จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5200-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาววรัญพัชร์ พงษ์พานิชย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ลด ละ เลิกการใช้โฟม ”
ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาววรัญพัชร์ พงษ์พานิชย์
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5200-1-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"ลด ละ เลิกการใช้โฟม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ลด ละ เลิกการใช้โฟม
บทคัดย่อ
โครงการ " ลด ละ เลิกการใช้โฟม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5200-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โฟม (Fome) เป็นผลิตภัณฑ์จากพลาสติกที่ทำการใช้สารเร่ง(additive) หรือยางพอง (Blowing Agents) ทำให้เกิดการฟูและพองตัว จาการใช้ความร้อนสูง ประกอบกับการอัดลงในแม่พิมพ์ (Mold) ที่มีรูปร่างต่างๆ
ที่ต้องการคุณสมบัติที่ได้คือ มีน้ำหนักเบา ทำเป็นรูปลักษณะต่างๆ ได้ดี และเป็นฉนวนความร้อนจึงทำให้โฟมเป็นที่นิยมในการนำมาเป็นภาชนะบรรจุหรือหีบห่ออาหารทั่วไป ทั้งอาหารสด ผักสด อาหารพร้อมปรุง และอาหารปรุงสำเร็จรูป ทั้งนี้เพื่อให้เกิดการถนอมอาหารที่คงสภาพอยู่ได้นานสะดวกในการขนส่งและวางจำหน่าย ปัจจุบันพบว่า ผู้ประกอบการค้าอาหารมักนิยมใช้กล่องโฟมเป็นภาชนะบรรจุอาหาร เช่น ข้าวผัด ข้าวผัดกระเพราไข่ดาว กระเพาะปลา เป็นต้น เนื่องจากสะดวก ใช้ง่าย รวดเร็ว และราคาถูก อย่างไรก็ตามการนำภาชนะโฟมมาบรรจุอาหารร้อนจำเป็นต้องใช้อย่างระมัดระวังเนื่องจากภาชนะโฟมที่สัมผัสกับอาหารร้อนจัดเป็นเวลานาน อาจทำให้โฟมเสียรูปทรงและอาจหลอมละลายจนมีสารสไตรีน ปนเปื้อนมากับอาหารได้ โดยปริมาณการละลายออกมาของสารสไตรีน จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัย 3 ชนิด คือไขมันในอาหารระยะเวลา และอุณหภูมิระหว่างการสัมผัสของอาหารกับภาชนะ ซึ่งอาหารที่มีไขมันสูงจะทำให้มีการละลายของสารสไตรีนออกมามากกว่าอาหารที่ไม่มีไขมันเป็นส่วนประกอบ
ตามนโยบายการบริหารจัดการขยะของรัฐบาล ที่ได้กำหนดนโยบายในการรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากร และการสร้างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์กับการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่องดการใช้ภาชนะโฟมใส่อาหาร เนื่องมาจากมีสารก่อให้เกิดโรคมะเร็งซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพแล้ว ยังส่งผลให้เกิดปัญหาอย่างรุนแรงต่อสิ่งแวดล้อม คือไม่ย่อยสลายง่ายและใช้เวลาย่อยสลายนานเกิน 100 ปี หากเผาไหม้ก็จะก่อให้เกิดภาวะก๊าซเรือนกระจกอีกทางหนึ่งด้วย ดังนั้น การเลิกใช้ภาชนะโฟมในการบรรจุอาหารร้อน หรืออาหารทอด หันมาใช้วัสดุธรรมชาติเช่น ใบตอง ชานอ้อย กระดาษ foodgrade พลาสติกชีวภาพก็มีความจำเป็นอย่างมากที่จะช่วยลดอันตรายจากการใช้ภาชนะโฟม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลนาทวีจึงเล็งเห็นถึงความสำคัญของภัยร้ายที่เกิดจากโฟม จึงได้จัดทำโครงการลด ละ เลิกการใช้โฟม เพื่อส่งเสริมให้เกิดความรู้ความเข้าใจของอันตรายที่เกิดจากการใช้ผลิตภัณฑ์จากโฟม และการส่งเสริมการลดการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร เพื่อการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ความเข้าใจให้กับองค์กรในการลด ละเลิก การใช้โฟมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภค
- 2. เพื่อลดปัญหาขยะที่เกิดจากการใช้ผลิตภัณฑ์โฟม
- 3. เพื่อลดค่านิยมแบบเดิมจากการใช้ผลิตภัณฑ์จากโฟมและเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทดแทนจากธรรมชาติ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มผู้บริโภค ได้แก่ สถานที่ราชการ และเอกชนมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินการให้กับองค์กรในด้านการลด ละเลิก การใช้โฟมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภค
- เพื่อลดปัญหาขยะที่เกิดจากการใช้ผลิตภัณฑ์โฟม และเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทดแทนจากธรรมชาติ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ความเข้าใจให้กับองค์กรในการลด ละเลิก การใช้โฟมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภค ตัวชี้วัด : จำนวนสมาชิกที่เข้ารับการฝึกอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง |
50.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อลดปัญหาขยะที่เกิดจากการใช้ผลิตภัณฑ์โฟม ตัวชี้วัด : องค์กรต้นแบบ “องค์กรปลอดโฟม” อย่างน้อย 1 แห่งในเขตเทศบาลตำบลนาทวี |
1.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อลดค่านิยมแบบเดิมจากการใช้ผลิตภัณฑ์จากโฟมและเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทดแทนจากธรรมชาติ ตัวชี้วัด : มีกิจกรรมรณรงค์การลด ละ เลิกการใช้โฟมในเขตเทศบาลตำบลนาทวี |
2.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ความเข้าใจให้กับองค์กรในการลด ละเลิก การใช้โฟมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภค (2) 2. เพื่อลดปัญหาขยะที่เกิดจากการใช้ผลิตภัณฑ์โฟม (3) 3. เพื่อลดค่านิยมแบบเดิมจากการใช้ผลิตภัณฑ์จากโฟมและเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทดแทนจากธรรมชาติ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ลด ละ เลิกการใช้โฟม จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5200-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาววรัญพัชร์ พงษ์พานิชย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......