กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการไข้เลือดออกป้องกันได้ด้วยชุมชน
รหัสโครงการ 61-L1523-2-05
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่ม อสม.หมู่ที่ 4 ต.นาเมืองเพชร
วันที่อนุมัติ 31 พฤษภาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2561
งบประมาณ 19,995.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสมร พร้อมสีทอง
พี่เลี้ยงโครงการ นางจินดา สินฝาด
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.559,99.465place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2561 30 ก.ย. 2561 19,995.00
รวมงบประมาณ 19,995.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เพื่อเป็นการเฝ้าระวังควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก และเพื่อเป็นการเตรียมรับสถานการณ์การแพร่ระบาดโดยให้มีการทำงานอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ ตลอดจนกระตุ้นเตือนในภาคประชาชนทุกครัวเรือนได้มีส่วนร่วมกับเจ้าหน้าที่ โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตลาดนัด และทุกภาคส่วน ร่วมมือผนึกกำลังความคิดความร่วมมือแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกร่วมกัน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อส่งเสริมสภาพแวดล้อมลดอัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกของประชาชน ๒. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม ๓. เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนเห็นสำคัญและตระหนักถึงภัยไข้เลือดออก ๔. เพื่อสร้างความร่วมมือ ร่วมใจของชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมโรคไข้เลือดออก
  1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง  2. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (ค่า H) ในชุมชนตำ่กว่า 10  3. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (ค่า CI) ในโรงเรียนเป็น 0 
60.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 มิ.ย. 61 - 30 ก.ย. 61 กิจกรรมที่ ๑ จัดกิจกรรมอบรมเพื่อค้นหา วิเคราะห์ ประเมินแนวโน้มปัญหาการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน 60 1,620.00 -
รวม 60 1,620.00 0 0.00

๑. ประชุมชี้แจงโครงการ เชิญผู้เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่สาธารณสุขแกนนำชุมชน ประชุมร่วมกันเพื่อค้นหา วิเคราะห์และประเมิน แนวโน้มปัญหาโรค ไข้เลือดออกในชุมชน เพื่อหาแนวทางการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา ๒. จัดประชุมและอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกแก่อาสาสมัครสาธารณสุข/แกนนำชุมชน ๓. ประชาสัมพันธ์โครงการและประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเข้าร่วมโครงการ ๔. จัดเตรียมความพร้อมก่อนดำเนินโครงการ ได้แก่ เอกสารแผ่นพับ ๕. จัดกิจกรรมรณรงค์สร้างการมีส่วนร่วมในชุมชนรวมพลังกำจัดลูกน้ำยุงลายตามวิธี ๕ ป ๑ ข ๖. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ แจกเอกสารแผ่นพับในเขตพื้นที่ชุมชน โดยอาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำชุมชน ๗. สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.อัตราการเกิดโรคลดลงและสามารถควบคุมโรคได้ในเวลาอันสั้น ๒.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม ๓.ประชาชนทุกลุ่มอายุ ตระหนักและเห็นความสำคัญของการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกด้านการควบคุมพาหนะ ด้านสิ่งแวดล้อม และการการป้องกันโรค อย่างเข้มแข็ง และต่อเนื่อง ๔.ประชาชน มีการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงในชุมชน ทุกสัปดาห์ ๕.สามารถเสริมสร้าง ความร่วมมือระหว่าง ผู้นำชุมชน ประชาชน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข โรงเรียนและอาสาสมัครสาธารณสุข

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 ก.ค. 2561 14:34 น.