กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี


“ พัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพชุมชน ”

ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางกัลยา แซ่เล่า

ชื่อโครงการ พัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพชุมชน

ที่อยู่ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5200-2-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กรกฎาคม 2561 ถึง 1 กุมภาพันธ์ 2562


กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพชุมชน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5200-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กรกฎาคม 2561 - 1 กุมภาพันธ์ 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์และปัจจัยแวดล้อมต่างๆทั้งทางด้านเศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขส่งผลให้วิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมและมีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพโดยรวมของประชาชน การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือประชาชนอายุยืนยาวขึ้นทำให้มีสัดส่วนของผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น คนไทยใช้ชีวิตแบบรีบเร่งและแข่งขันมากขึ้นนำมาซึ่งพฤติกรรมบางอย่างที่ส่งผลกระทบด้านลบต่อสุขภาพเช่น การขาดการ ออกกำลังกาย รับประทานอาหารที่มีไขมันสูง การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา พฤติกรรมเสี่ยงต่างๆก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมาที่สำคัญได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง อัมพาต อัมพฤกษ์ ภาวะวิตกกังวลและความเครียดเป็นต้น
  การสาธารณสุขมูลฐานนั้น ได้รับการยอมรับให้เป็นนโยบายและกลยุทธ์หลักของการพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติมาตั้งแต่แผนพัฒนาสาธารณสุข ฉบับที่ ๔ จนถึงปัจจุบัน โดยมุ่งหวังให้ประชาชนในแต่ละหมู่บ้านและชุมชน สามารถพึ่งตนเองทางด้านสุขภาพได้ และประชาชนมีสุขภาพดีถ้วนหน้า ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดเป้าหมายและกลยุทธ์ระบบสนับสนุนงานสาธารณสุขมูลฐานสำหรับพื้นที่ทั่วประเทศ ตั้งแต่ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล ตลอดจนถึงหมู่บ้านในเขตชนบทและชุมชนในเขตเมือง โดยมีการจัดตั้ง อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ในทุกหมู่บ้านและชุมชนทั่วประเทศ เพื่อให้ อสม. ที่ผ่านการอบรมนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดและจัดบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐานแก่ชาวบ้านในหมู่บ้านและชุมชน ประเมินปัญหาของชุมชนและเข้ามามีส่วนร่วมแก่ไขปัญหาในชุมชน แต่การดำเนินงานสาธารณสุขมูลฐานยังไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร กล่าวคือ ขาดแกนนำในการส่งเสริมและขับเคลื่อนการดำเนินงานในชุมชน ประชาชนในชุมชนไม่เข้าใจและไม่เห็นถึงความสำคัญในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ เพียงแค่ปฏิบัติตามคำบอกกล่าวของเจ้าหน้าที่ ด้วยเหตุนี้จึงส่งผลให้ประชาชนขาดจิตสำนึกของการมีส่วนร่วมในงานสาธารณสุขมูลฐานอย่างแท้จริงและขาดความยั่งยืน ซึ่งส่งผลต่อความเข้มแข็งของชุมชน ไม่สามารถตอบสนองต่อสภาวะทางสุขภาพ ภายใต้การเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมืองในปัจจุบัน
    ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขเทศบาลตำบลนาทวีได้ให้ความสำคัญกับการขับเคลื่อนการดำเนินงานกิจกรรมสาธารณสุขมูลฐานในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพในชุมชน เทศบาลตำบลนาทวีขึ้น  โดยมีเป้าหมายที่จะพัฒนาให้แกนนำสุขภาพให้เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถตามสภาพปัญหาและสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ทำหน้าที่ในการถ่ายทอดความรู้ จัดการสุขภาพในชุมชน ตลอดจนให้บริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น มีจิตสาธารณในการสร้างความเข้มแข็งด้านสุขภาพอย่างยั่งยืน มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างท้องถิ่น แกนนำสุขภาพในชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตพื้นอย่างเข้มแข็ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพในการดูแลสุขภาพของประชาชนตามสภาพปัญหาสาธารณสุขที่เปลี่ยนแปลงไปของชุมชน
  2. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ ให้แก่แกนนำสุขภาพในชุมชนในการสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 60
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. แกนนำสุขภาพสามารถดูแลสุขภาพของประชาชนตามสภาพปัญหาสาธารณสุขที่เปลี่ยนแปลงไปของชุมชน
    2. แกนนำสุขภาพในชุมชนในมีความรู้ใหม่ๆ ในการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขมูลฐาน
    3. เพิ่มขีดความสามารถให้เกิดทักษะทางวิชาการด้านสาธารณสุขอย่างถูกต้อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพในการดูแลสุขภาพของประชาชนตามสภาพปัญหาสาธารณสุขที่เปลี่ยนแปลงไปของชุมชน
    ตัวชี้วัด : จำนวนสมาชิกที่เข้ารับการฝึกอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเป้าหมายที่กำหนด
    60.00

     

    2 เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ ให้แก่แกนนำสุขภาพในชุมชนในการสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข
    ตัวชี้วัด : แกนนำสุขภาพมีความรู้เพิ่มขึ้นหลังการอบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
    60.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 60
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพในการดูแลสุขภาพของประชาชนตามสภาพปัญหาสาธารณสุขที่เปลี่ยนแปลงไปของชุมชน  (2) เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ ให้แก่แกนนำสุขภาพในชุมชนในการสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    พัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพชุมชน จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L5200-2-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางกัลยา แซ่เล่า )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด