กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ สานใยรักครอบครัวสู่ชุมชนป้องกันยาเสพติด ปี 4 ”
ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสุนิสา ฉ้วนขาว




ชื่อโครงการ สานใยรักครอบครัวสู่ชุมชนป้องกันยาเสพติด ปี 4

ที่อยู่ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5200-2-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"สานใยรักครอบครัวสู่ชุมชนป้องกันยาเสพติด ปี 4 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สานใยรักครอบครัวสู่ชุมชนป้องกันยาเสพติด ปี 4



บทคัดย่อ

โครงการ " สานใยรักครอบครัวสู่ชุมชนป้องกันยาเสพติด ปี 4 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5200-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กรกฎาคม 2561 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 81,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เยาวชน คืออนาคตของชาติปัจจุบันสังคมไทยกำลังประสบปัญหาวิกฤต จากสถานการณ์ปัญหายากเสพติดที่ได้เริ่มแพร่ระบาดและกำลังทวีความรุนแรงมากขึ้นอย่างน่าวิตก การหวนกลับมาระบาดอย่างหนักของยาเสพติดในปัจจุบัน เป็นผลให้เยาวชน หลงผิดเข้าสู่วงจรของการซื้อขายและเสพยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นสังคมลอบข้างล้วนแปรเปลี่ยนไป สภาพเศรษฐกิจและสังคมที่ต้องแข่งขันกันทำให้ผู้ปกครองไม่มีเวลาอบรมและใกล้ชิดบุตรหลาน จนบางครั้งเยาวชนเกิดความรู้สึกสับสน ด้วยวัยที่ด้อยคุณวุฒิและอ่อนประสบการณ์ทำให้หาทางออกด้วยวิธีการที่ผิดในบางครั้ง ซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญในการพัฒนาประเทศ และเป็นการทำลายทรัพยากรบุคคลซึ่งเป็นอนาคตและเป็นพลังในการพัฒนาประเทศให้ด้อยคุณภาพ อันจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ และเป็นภาระงบประมาณของประเทศในการบำบัดรักษาผู้ป่วยที่เกิดจากการเสพยาเสพติด อีกทั้งยังเป็นปัญหาที่สร้างความรู้สึกสะเทือนใจและเจ็บปวดให้กับพ่อแม่ผู้ปกครอง และปัญหายาเสพติดได้นำมาซึ่งความรุนแรงในครอบครัวและอาชญากรรมต่างๆในสังคมเช่น การลักขโมย ฉกชิงวิ่งราวและการก่อปัญหาอาชญากรรมอื่นๆตามมาอีกมากมาย ซึ่งทำให้มีผลกระทบต่อสังคมโดยรวม โดยรัฐได้มีนโยบายในการแก้ไขปัญหายาเสพติดตามยุทธศาสตร์ ๕ รั้วป้องกันคือ ๑.รั้วชายแดน ๒.รั้วชุมชน ๓.รั้วสังคม๔.รั้วครอบครัว และ ๕.รั้วโรงเรียน
    จากสถิติค้ายาเสพติดพบว่า เด็กและเยาวชนที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดเริ่มมีอายุน้อยลง จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ครอบครัวของเด็กและเยาวชนจะต้องให้ความสำคัญและเข้าใจในปัญหาที่เกิดขึ้น ดังนั้น การมีส่วนร่วมจากครอบครัวและชุมชนจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการร่วมมือสร้างความรัก ความผูกพัน ความสามัคคี และจิตสำนึกสาธารณะที่ดีให้เกิดขึ้นในครอบครัวจึงจัดทำโครงการสานสายใยครอบครัวสู่ชุมชนป้องกันยาเสพติด ปี 4 “ล้อมรักให้ครอบครัว ล้อมรั้วยาเสพติด”ขึ้น อย่างต่อเนื่องเป็นปีที่ 4 เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวต้องเรียนรู้วิธีป้องกันยาเสพติดและสร้างสายใยครอบครัวให้เข้มแข็ง เพื่อจะได้สามารถร่วมมือกันปกป้องเด็กและเยาวชนให้ห่างไกลจากปัญหายาเสพติด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติดในระดับชุมชน โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชน
  2. 2. เพื่อเพิ่มสัมพันธภาพ และความผูกพันของเด็ก เยาวชน กับครอบครัว
  3. 3. เพื่อปลูกจิตสำนึกให้แก่ประชาชน ให้ตระหนักถึงปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดและผลกระทบจากการเสพยาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
    กลุ่มวัยทำงาน 20
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้เข้าร่วมรับการฝึกอบรมสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิดสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายจิตใจ ไม่ตกเป็นทาสของอบายมุข และปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
    2. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะเป็นผู้มีส่วนร่วมรณรงค์ให้เยาวชนและประชาชนในชุมชนได้รับรู้และทราบถึงปัญหาพิษภัยของยาเสพติดและผลกระทบจากการเสพยาเสพติด ป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โรคเอดส์

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติดในระดับชุมชน โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชน
    ตัวชี้วัด : จำนวนสมาชิกที่เข้ารับการฝึกอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเป้าหมายที่กำหนด
    50.00

     

    2 2. เพื่อเพิ่มสัมพันธภาพ และความผูกพันของเด็ก เยาวชน กับครอบครัว
    ตัวชี้วัด : มีกิจกรรมการฝึกอบรมพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะชีวิตปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
    50.00

     

    3 3. เพื่อปลูกจิตสำนึกให้แก่ประชาชน ให้ตระหนักถึงปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดและผลกระทบจากการเสพยาเสพติด
    ตัวชี้วัด : มีกิจกรรมรณรงค์ให้เยาวชนและประชาชนในชุมชนได้รับรู้และทราบถึงปัญหาพิษภัยของยาเสพติดและผลกระทบจากการเสพยาเสพติด
    50.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
    กลุ่มวัยทำงาน 20
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติดในระดับชุมชน โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชน (2) 2. เพื่อเพิ่มสัมพันธภาพ และความผูกพันของเด็ก เยาวชน กับครอบครัว (3) 3. เพื่อปลูกจิตสำนึกให้แก่ประชาชน ให้ตระหนักถึงปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดและผลกระทบจากการเสพยาเสพติด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    สานใยรักครอบครัวสู่ชุมชนป้องกันยาเสพติด ปี 4 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L5200-2-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุนิสา ฉ้วนขาว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด