ส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาทวี
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาทวี ”
ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
ด.ต.สมหมาย คงธรรม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี
มีนาคม 2562
ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาทวี
ที่อยู่ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5200-3-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 มีนาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาทวี จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาทวี
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาทวี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5200-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กรกฎาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การมีประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นและมีอายุยืนยาวขึ้น ส่งผลให้โครงสร้างประชากรของประเทศเปลี่ยนแปลงไป คืออัตราส่วนของผู้สูงอายุที่เป็นภาระเพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่อัตราส่วนและจำนวนประชากรวัยแรงงานเริ่มลดลงซึ่งอาจมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจส่วนรวม ประกอบกับวัยผู้สูงอายุเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคม การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายอันเป็นผลจากความเสื่อมและความสามารถในการทำหน้าที่ลดลง ก่อให้เกิดปัญหาด้านต่างๆตามมา เช่น การเปลี่ยนแปลงของระบบกล้ามเนื้อ การทรงตัวและการเคลื่อนไหวที่เชื่องช้าลง ความสามารถในการมองเห็นลดลง การได้ยินลดลงทำให้มีความบกพร่องในการติดต่อสื่อสาร เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจส่วนหนึ่งเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายประกอบกับวัยสูงอายุต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงในหน้าที่ การงาน การขาดรายได้ หรือการสูญเสียคู่สมรสหรือเพื่อนฝูงที่ใกล้ชิด ทำให้รู้สึกท้อแท้ หมดหวัง วิตกกังวล ซึมเศร้า และในด้านสังคม ต้องพึ่งพิงบุคคลในครอบครัวมากกว่าเดิม บุตรหลานบางครอบครัวต้องไปประกอบอาชีพนอกบ้านทำให้ผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งให้อยู่ตามลำพัง ดังนั้นกลุ่มผู้สูงอายุในสภาพสังคมไทยถือเป็นสัดส่วนของผู้ประสบภาวะยากลำบากมากกว่าวัยอื่นๆ ทั้งนี้ เนื่องจากผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่ได้ทำงานไม่มีรายได้ มีโอกาสจำกัดที่จะทำงานภาคแรงงานในระบบเนื่องจากมีการศึกษาน้อย จำนวนบุตรที่จะเป็นผู้ให้การเกื้อหนุนทางการเงินลดลงตามลำดับ มีปัญหาด้านสุขภาพตามความเสื่อมของร่างกายตามวัยและมีโรคเรื้อรังเพิ่มมากขึ้น ก่อให้เกิดภาวการณ์พึ่งพาที่สูงขึ้น และมีความต้องการในการดูแลในระยะยาว โดยเฉพาะการได้รับสิทธิอันพึงมีพึงได้ของผู้สูงอายุ การจัดสวัสดิการ ทางสังคม ให้สามารถอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างมีความสุข
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุที่หลากหลาย ทั้งในด้านการจัดสวัสดิการสังคมการบริการทางด้านสุขภาพอย่างบูรณาการโดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน และตามพระราชกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 ให้เทศบาลเมืองพัทยา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอำนาจหน้าที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง (10) การสังคมสงเคราะห์ การพัฒนาคุณภาพชีวิต เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส
ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาทวีได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญของผู้สูงอายุจึงได้ดำเนินการโครงการส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาทวี ประจำปีงบประมาณ 2561 ขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของคณะผู้บริหารและนโยบายของรัฐบาลในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับโอกาสในการเรียนรู้เรื่องราวต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ และสามารถปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
- 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีสุขภาวะที่ดีขึ้นทั้งสุขกาย จิต อารมณ์ และสังคม
- 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
120
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ ความเข้าใจในแนวทางการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัย สุขภาพจิต ตลอดจนสิทธิประโยชน์อันพึงมีพึงได้ของผู้สูงอายุ
2.ผู้สูงอายุ ได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ร่วมคิดร่วมทำ ส่งเสริมให้เกิดความสามัคคีและมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันในหมู่สมาชิก
3.สมาชิกได้เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัวและสังคม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับโอกาสในการเรียนรู้เรื่องราวต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ และสามารถปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : 1. จัดทำแบบทดสอบผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม
2. ประเมินความพึงพอใจผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม
75.00
2
2.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีสุขภาวะที่ดีขึ้นทั้งสุขกาย จิต อารมณ์ และสังคม
ตัวชี้วัด : พฤติกรรมผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม
50.00
3
3.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน
ตัวชี้วัด :
75.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
120
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับโอกาสในการเรียนรู้เรื่องราวต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ และสามารถปรับใช้ในชีวิตประจำวัน (2) 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีสุขภาวะที่ดีขึ้นทั้งสุขกาย จิต อารมณ์ และสังคม (3) 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาทวี จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5200-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ด.ต.สมหมาย คงธรรม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาทวี ”
ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
ด.ต.สมหมาย คงธรรม
มีนาคม 2562
ที่อยู่ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5200-3-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 มีนาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาทวี จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาทวี
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาทวี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5200-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กรกฎาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การมีประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นและมีอายุยืนยาวขึ้น ส่งผลให้โครงสร้างประชากรของประเทศเปลี่ยนแปลงไป คืออัตราส่วนของผู้สูงอายุที่เป็นภาระเพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่อัตราส่วนและจำนวนประชากรวัยแรงงานเริ่มลดลงซึ่งอาจมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจส่วนรวม ประกอบกับวัยผู้สูงอายุเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคม การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายอันเป็นผลจากความเสื่อมและความสามารถในการทำหน้าที่ลดลง ก่อให้เกิดปัญหาด้านต่างๆตามมา เช่น การเปลี่ยนแปลงของระบบกล้ามเนื้อ การทรงตัวและการเคลื่อนไหวที่เชื่องช้าลง ความสามารถในการมองเห็นลดลง การได้ยินลดลงทำให้มีความบกพร่องในการติดต่อสื่อสาร เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจส่วนหนึ่งเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายประกอบกับวัยสูงอายุต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงในหน้าที่ การงาน การขาดรายได้ หรือการสูญเสียคู่สมรสหรือเพื่อนฝูงที่ใกล้ชิด ทำให้รู้สึกท้อแท้ หมดหวัง วิตกกังวล ซึมเศร้า และในด้านสังคม ต้องพึ่งพิงบุคคลในครอบครัวมากกว่าเดิม บุตรหลานบางครอบครัวต้องไปประกอบอาชีพนอกบ้านทำให้ผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งให้อยู่ตามลำพัง ดังนั้นกลุ่มผู้สูงอายุในสภาพสังคมไทยถือเป็นสัดส่วนของผู้ประสบภาวะยากลำบากมากกว่าวัยอื่นๆ ทั้งนี้ เนื่องจากผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่ได้ทำงานไม่มีรายได้ มีโอกาสจำกัดที่จะทำงานภาคแรงงานในระบบเนื่องจากมีการศึกษาน้อย จำนวนบุตรที่จะเป็นผู้ให้การเกื้อหนุนทางการเงินลดลงตามลำดับ มีปัญหาด้านสุขภาพตามความเสื่อมของร่างกายตามวัยและมีโรคเรื้อรังเพิ่มมากขึ้น ก่อให้เกิดภาวการณ์พึ่งพาที่สูงขึ้น และมีความต้องการในการดูแลในระยะยาว โดยเฉพาะการได้รับสิทธิอันพึงมีพึงได้ของผู้สูงอายุ การจัดสวัสดิการ ทางสังคม ให้สามารถอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างมีความสุข
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุที่หลากหลาย ทั้งในด้านการจัดสวัสดิการสังคมการบริการทางด้านสุขภาพอย่างบูรณาการโดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน และตามพระราชกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 ให้เทศบาลเมืองพัทยา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอำนาจหน้าที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง (10) การสังคมสงเคราะห์ การพัฒนาคุณภาพชีวิต เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส
ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาทวีได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญของผู้สูงอายุจึงได้ดำเนินการโครงการส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาทวี ประจำปีงบประมาณ 2561 ขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของคณะผู้บริหารและนโยบายของรัฐบาลในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับโอกาสในการเรียนรู้เรื่องราวต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ และสามารถปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
- 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีสุขภาวะที่ดีขึ้นทั้งสุขกาย จิต อารมณ์ และสังคม
- 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 120 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ ความเข้าใจในแนวทางการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัย สุขภาพจิต ตลอดจนสิทธิประโยชน์อันพึงมีพึงได้ของผู้สูงอายุ 2.ผู้สูงอายุ ได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ร่วมคิดร่วมทำ ส่งเสริมให้เกิดความสามัคคีและมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันในหมู่สมาชิก 3.สมาชิกได้เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัวและสังคม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับโอกาสในการเรียนรู้เรื่องราวต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ และสามารถปรับใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด : 1. จัดทำแบบทดสอบผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม 2. ประเมินความพึงพอใจผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม |
75.00 |
|
||
2 | 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีสุขภาวะที่ดีขึ้นทั้งสุขกาย จิต อารมณ์ และสังคม ตัวชี้วัด : พฤติกรรมผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม |
50.00 |
|
||
3 | 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ตัวชี้วัด : |
75.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับโอกาสในการเรียนรู้เรื่องราวต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ และสามารถปรับใช้ในชีวิตประจำวัน (2) 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีสุขภาวะที่ดีขึ้นทั้งสุขกาย จิต อารมณ์ และสังคม (3) 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลนาทวี จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5200-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ด.ต.สมหมาย คงธรรม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......