กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการอบรมสร้างแกนนำนักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการดำเนินงานคลินิกไร้พุง (DPAC) เครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งนารี รพ.สต.บ้านทุ่งนารี

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี


“ โครงการอบรมสร้างแกนนำนักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการดำเนินงานคลินิกไร้พุง (DPAC) เครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งนารี รพ.สต.บ้านทุ่งนารี ”

ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายนพพล กองเอียด

ชื่อโครงการ โครงการอบรมสร้างแกนนำนักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการดำเนินงานคลินิกไร้พุง (DPAC) เครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งนารี รพ.สต.บ้านทุ่งนารี

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3341-1-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมสร้างแกนนำนักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการดำเนินงานคลินิกไร้พุง (DPAC) เครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งนารี รพ.สต.บ้านทุ่งนารี จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมสร้างแกนนำนักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการดำเนินงานคลินิกไร้พุง (DPAC) เครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งนารี รพ.สต.บ้านทุ่งนารี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมสร้างแกนนำนักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการดำเนินงานคลินิกไร้พุง (DPAC) เครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งนารี รพ.สต.บ้านทุ่งนารี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3341-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การอนามัยโลกได้ประกาศในปี ค.ศ.๑๙๙๗ ว่า ภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วน เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญซึ่งต้องเร่งแก้ไข เนื่องจากเป็นปัญหาหนึ่งซึ่งนำไปสู่ผลกระทบต่อสุขภาพ เศรษฐกิจและปัญหาทางจิตสังคมอย่างชัดเจน โรคที่เป็นผลกระทบจากภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วนต่อสุขภาพที่พบในผู้ใหญ่ได้แก่ ข้อเข่าเสื่อม ภาวะอัมพฤกษ์ อัมพาต ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง มะเร็งลำไส้ โรคซึมเศร้า เป็นต้น และยังพบว่าการตายในผู้ที่อายุระหว่าง ๒๐ – ๗๔ ปี กว่าครึ่งหนึ่ง มีผลมาจากความอ้วน ซึ่งโรคหัวใจและหลอดเลือดยังเป็นสาเหตุการตายของคนทั่วโลก ปีละ ๑๗ ล้านคน และมีแนวโน้มรุนแรงขึ้น โดยคาดว่าอีก ๑๕ ปีข้างหน้า หรือในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ทั่วโลกจะมีผู้เสียชีวิตจากโรคดังกล่าว ประมาณ ๒๕ ล้านคน ซึ่งจะมีประชาการในกลุ่มประเทศที่กำลังพัฒนาประมาณ ๑๙ ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ ๗๖ ของผู้เสียชีวิตทั้งหมด ปัญหาสุขภาพเหล่านี้ ส่งผลให้เกิดการสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาโรค เป็นภาระของครอบครัวและประเทศ นอกจากนี้ยังปรากฏว่า ร้อยละ ๒-๘ ของค่าใช้จ่าย ด้านสุขภาพของประชาชนในปัจจุบัน เป็นค่าใช้จ่ายที่เป็นผลกระทบจากโรคอ้วน ถ้าเป็นเช่นนี้ต่อไปในอีก ๑๐ปีข้างหน้าค่าใช้จ่ายในส่วนนี้จะเพิ่มขึ้นอีกเป็นจำนวนมาก ในทศวรรษที่ผ่านมา ทำให้หลายประเทศทั่วโลกมีปัญหาเกี่ยวกับความชุกของภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วนเพิ่มขึ้นในทุกกลุ่มอายุอย่างรวดเร็ว โรคอ้วนลงพุง (Metabolic Syndrome)เป็นฆาตกรเงียบที่หลายคนคาดไม่ถึง คนที่อ้วนลงพุงจะมีการสะสมของไขมันในช่องท้องมากเกิน โดยมีเส้นรอบเอวของเพศชายเกิน ๓๖ นิ้ว หรือ ๙๐ เซนติเมตร เพศหญิงเกิน ๓๒นิ้ว หรือ ๘๐ เซนติเมตร ซึ่งไขมันเหล่านี้จะแตกตัวเป็นกรดไขมันอิสระเข้าสู่ตับ มีผลให้อินซูลิน ออกฤทธิ์ได้ไม่ดี เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคเบาหวาน และจากการสำรวจ “ภาวะอาหารและโภชนาการแห่งชาติ” พ.ศ.๒๕๕๖ – ๒๕๔๗ ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พบว่า คนไทยอายุ ๑๙ – ๗๔ ปี มีเส้นรอบเอวเกินเกณฑ์มาตรฐานสูงถึง ๒๘.๓% และในการสำรวจสุขภาพประชากรไทยปีล่าสุด พ.ศ. ๒๕๔๙ พบว่า ประชากรในประเทศไทยที่อายุมากกว่า ๓๕ ปี มีเส้นรอบพุงเกิน กำหนดประมาณ ๙.๓ ล้านคน โดยพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย คือ เพศหญิงอ้วนลงพุง ๕๒% ผู้ชาย ๒๒% และในรอบ ๗ ปีที่ผ่านมา มีคนไทยเป็นโรคอ้วนลงพุง เพิ่มเป็น ๑.๓ เท่า ในเขตเมืองเพิ่มถึง ๔๕ ในชนบท ๓๔% และคนที่มีรอบเอวเพิ่มขึ้นทุก ๕ เซนติเมตร จะมีโอกาสเป็นโรคเบาหวานเพิ่ม ๓-๕ จะเห็นได้ว่าเอวใหญ่ขึ้นเท่าไรก็ยิ่งเจ็บป่วยและตายเร็วขึ้นเท่านั้น
การตั้งคลินิกไร้พุง (Diet & Physical Change Clinic : (DPAC) ในสถานพยาบาลต่างๆ เพื่อการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มวัยทำงานด้านโภชนาการกับการออกกำลังกาย จึงเป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้งานส่งเสริมสุขภาพอนามัยวัยทำงานบรรลุวัตถุประสงค์ในการทำให้ประชาชนมีสุขภาพดีโดยทั่วหน้า เครือข่ายสุภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งนารี จึงได้จัดทำโครงการอบรมสร้างแกนนำนักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการดำเนินงานคลินิกไร้พุง (DPAC) เครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนารี ประจำปีงบประมาณ 2561 ขึ้นเพื่อให้แกนนำนักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีความรู้ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้กับตนเองและกลุ่มเป้าหมายอายุ 15 ปีขึ้นไป และสนับสนุนให้มีศูนย์การเรียนรู้ในหน่วยบริการสำหรับผู้ที่สนใจในการเข้ารับบริการให้คำปรึกษา และทำกิจกรรมร่วมกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้แกนนำนักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีความรู้เกี่ยวกับการจัดบริการตรวจสุขภาพ ประเมินสภาวะสุขภาพ และพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพรวมทั้งการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงใน รพ.สต. และในชุมขน
  2. เพื่อสนับสนุนให้มีศูนย์การเรียนรู้/การจัดตั้งคลินิกไร้พุงในรพ.สต.
  3. เพื่อสนับสนุนให้มีศูนย์การเรียนรู้/การจัดตั้งคลินิกไร้พุงในรพ.สต.

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมอบรมสร้างแกนนำนักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการดำเนินงานคลินิกไร้พุง จำนวน 40 คน จำนวน 2 วัน
  2. จัดซื้อวัสดุสำหรับการอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 43
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แกนนำนักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มีความรู้และสามารถเข้าใจบทบาทนักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  2. ประชากรกลุ่มเป้าหมายอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคไม่ติดต่อที่มีภาวะอ้วนลงพุงได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  3. กลุ่มเป้าหมายอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคไม่ติดต่อที่มีภาวะอ้วนลงพุงได้มีแหล่งให้คำปรึกษาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และสามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดกิจกรรมอบรมสร้างแกนนำนักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการดำเนินงานคลินิกไร้พุง จำนวน 40 คน จำนวน 2 วัน

วันที่ 24 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมอบรมสร้างแกนนำนักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการดำเนินงานคลินิกไร้พุง จำนวน 40 คน จำนวน 2 วัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำนักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการดำเนินงานคลินิกไร้พุง เข้าร่วมจำนวน 43 คน จำนวน 2 วัน

 

40 0

2. จัดซื้อวัสดุสำหรับการอบรม

วันที่ 23 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อวัสดุสำหรับการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดซื้อวัสดุออกกำลังกายแบบโยคะ 40 ชิ้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้แกนนำนักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีความรู้เกี่ยวกับการจัดบริการตรวจสุขภาพ ประเมินสภาวะสุขภาพ และพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพรวมทั้งการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงใน รพ.สต. และในชุมขน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรมและมีส่วนร่วมในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
0.00

 

2 เพื่อสนับสนุนให้มีศูนย์การเรียนรู้/การจัดตั้งคลินิกไร้พุงในรพ.สต.
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรมความรู้หลังการอบรมเพิ่มขึ้น
0.00

 

3 เพื่อสนับสนุนให้มีศูนย์การเรียนรู้/การจัดตั้งคลินิกไร้พุงในรพ.สต.
ตัวชี้วัด : มีการจัดตั้งและดำเนินงานคลินิกไร้พุง ใน รพ.สต.
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 83
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 43
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำนักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีความรู้เกี่ยวกับการจัดบริการตรวจสุขภาพ ประเมินสภาวะสุขภาพ และพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพรวมทั้งการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงใน รพ.สต. และในชุมขน (2) เพื่อสนับสนุนให้มีศูนย์การเรียนรู้/การจัดตั้งคลินิกไร้พุงในรพ.สต. (3) เพื่อสนับสนุนให้มีศูนย์การเรียนรู้/การจัดตั้งคลินิกไร้พุงในรพ.สต.

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมอบรมสร้างแกนนำนักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการดำเนินงานคลินิกไร้พุง จำนวน 40 คน จำนวน 2 วัน  (2) จัดซื้อวัสดุสำหรับการอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมสร้างแกนนำนักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการดำเนินงานคลินิกไร้พุง (DPAC) เครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งนารี รพ.สต.บ้านทุ่งนารี จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3341-1-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนพพล กองเอียด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด