กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน


“ โครงการหนูน้อยสุขภาพดีใส่ใจการรับวัคซีน ปี 2561 ”

ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางนิเด๊าะ อิแตแล

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสุขภาพดีใส่ใจการรับวัคซีน ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4147-2-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยสุขภาพดีใส่ใจการรับวัคซีน ปี 2561 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยสุขภาพดีใส่ใจการรับวัคซีน ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยสุขภาพดีใส่ใจการรับวัคซีน ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4147-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นงานบริการขั้นพื้นฐานที่เด็กไทยทุกคนพึงได้รับบริการจากรัฐและผู้ปกครองของเด็กที่มีอายุ 0-5 ปี ควรที่จะมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค จากการสัมภาษณ์และสอบถามผู้ปกครองของเด็กที่มีอายุ0-5ปีเกี่ยวกับการได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของเด็กที่อยู่ในความดูแลของผู้ปกครอง ชุมชนเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลตำบลบาโงยซิแน ยังพบเด็กที่รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์เป็นจำนวนมาก และผู้ปกครองอีกหลายท่านที่ยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่าการดำเนินงานในกิจกรรมงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคมีประชากรเด็ก 0-5 ปี

    ปีงบประมาณ 2560 เป้าหมาย 1 ปี จำนวน 143 ราย ได้รับครบตามเกณฑ์ ทั้งหมด 93 ราย คิดเป็นร้อยละ 65.05 เป้าหมาย 2 ปี จำนวน 112 ราย ได้รับครบตามเกณฑ์ ทั้งหมด 76 ราย คิดเป็นร้อยละ 67 เป้าหมาย 3 ปี จำนวน 96 ราย ได้รับครบตามเกณฑ์ ทั้งหมด 77 ราย คิดเป็นร้อยละ 80.21 และเป้าหมาย 5 ปี จำนวน 121 ราย ได้รับครบตามเกณฑ์ ทั้งหมด 85 ราย คิดเป็นร้อยละ 70.25 ซึ่งยังไม่บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ คือ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนให้ได้ร้อยละ 90 ซึ่งเป็นการดำเนินงานโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขแต่เพียงฝ่ายเดียว ไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง ชุมชนเท่าที่ควร ทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุตามเป้าหมาย ดังนั้นการดำเนินงานในกิจกรรมงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจึงจำเป็นที่ผู้ปกรครองต้องมีความรู้และได้รับความร่วมมือจากองค์กรชุมชน เช่น ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อสม. ในการติดตามเด็ก 0-5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ซึ่งเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีนได้ ดังนั้นการมีความรู้เกี่ยวกับโรคที่ติดต่อด้วยวัคซีน และการได้รับความร่วมมือจากหลายๆฝ่ายทำให้ชุมชนห่างไกลจากโรคติดต่อต่างๆได้

    ฉะนั้น เพื่อเพิ่มความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่ต่อต่อด้วยวัคซีน แก่ผู้ปกครอง และเพื่อลดการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนเป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้ ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลบาโงยซิแน ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงยซิแน ได้ตระหนักในความสำคัญของการเสริมภูมคุ้มกันโรคที่ติดต่อด้วยวัคซีนของเด็ก 0 – 5 ปี จึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยสุขภาพดีใส่ใจการรับวัคซีน ปี 2561 ดำเนินการเร่งรัด ติดตาม ค้นหาเด็กตามกลุ่มเป้าหมาย ให้มารับการฉีดวัคซีนทุกคน เพื่อป้องกันโรคที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชากรกลุ่มอายุดังกล่าว และให้เด็กมีภาวะสุขภาพที่ดียิ่งขึ้นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่ติดต่อด้วยวัคซีน
  2. 2. เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
  3. 3. เพื่อให้เด็กอายุ 2 ปีครึ่ง – 7 ปี รับวัคซีน MMR ครบตามเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การอบรมให้ความรู้
  2. การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ และการติดตาม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงการดูแลสุขภาพของเด็กในการรับภูมิคุ้มกันโรค ครบตามเกณฑ์

2.ผู้ปกครองมีความตระหนักในการพาเด็กมารับบริการฉีดวัคซีน

3.เด็ก 0 -5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่ติดต่อด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองตอบคำถามเกี่ยวโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีนได้ ร้อย 80
80.00

 

2 2. เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 0-5 ปี ในพื้นที่รับผิดชอบ ได้รับวัคซีนพื้นฐานครบตามเกณฑ์ ร้อยละ90
90.00

 

3 3. เพื่อให้เด็กอายุ 2 ปีครึ่ง – 7 ปี รับวัคซีน MMR ครบตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 2 ปีครึ่ง – 7 ปี ในพื้นที่รับผิดชอบ ได้รับวัคซีน MMR ครบตามเกณฑ์ ร้อยละ95
95.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่ติดต่อด้วยวัคซีน (2) 2. เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ (3) 3. เพื่อให้เด็กอายุ 2 ปีครึ่ง – 7 ปี รับวัคซีน MMR ครบตามเกณฑ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การอบรมให้ความรู้ (2) การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ และการติดตาม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูน้อยสุขภาพดีใส่ใจการรับวัคซีน ปี 2561 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4147-2-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนิเด๊าะ อิแตแล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด