กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการวัยใสใส่ใจการตรวจคัดกรอง มะเร็งปากมดลูกและเต้านม ”
ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางรัตนาภรณ์ เต็มรัตน์




ชื่อโครงการ โครงการวัยใสใส่ใจการตรวจคัดกรอง มะเร็งปากมดลูกและเต้านม

ที่อยู่ ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5198-2-8 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัยใสใส่ใจการตรวจคัดกรอง มะเร็งปากมดลูกและเต้านม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทับช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยใสใส่ใจการตรวจคัดกรอง มะเร็งปากมดลูกและเต้านม



บทคัดย่อ

โครงการวัยใสใส่ใจการตรวจคัดกรอง มะเร็งปากมดลูกและเต้านม ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5198-2-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ต.ค. 60 - 30 ก.ย. 61 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,825.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทับช้าง เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 60 ปี มีความรู้และได้ตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 177 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้ คือ 1.)สตรีกลุ่มอายุ 30 - 60 ปีมีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมแและมะเร็งปากมดลูก และมัทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และได้รับการตรวจพบมะเร็งในระยะเริ่มต้น 2.)สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30- 60 ปี ที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและพบภภาวะผิดปกติทุกชนิดได้รับการส่งต่อเพื่อรักษาที่ถูกต้อง

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งปากมดลูกแและมะเร็งเต้านม เป็นโรคมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 1 และ 2 ของโรคมะเร็งทั้งหมดของสตรีไทย จากสถิติของสถาบันมะเร็งแห่งาติปี 2546 พบว่าโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นสัดส่วนร้อยละ 33.1 ของมะเร็งทุกชนิดในสตรี(4447จาก1,440ราย)โรคมะเร็งที่พบรองลงมาได้แก่โรคมะเร็งเต้านม โรคมะเร็งปออด และโรคมะเร็งรังไข่ ฯลฯ ปัญหาดังกล่าวก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และทางเศรษฐกิจ เป็นอย่างมาก แต่สามารถป้องกันและรักษาให้หายขาดได้ถ้าพบผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรก ดังนั้นถ้าสามารถกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้มีความรู้เเเละเข้าใจเกี่ยวกับโรคดังกล่าว พร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความสำคคัญของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรกก็จะทำให้อัตราการเกิดโรค อัตราการป่วยและออัตราการตาย จากโรคมะเร็งลดลง กระทรวงสาธารณสุขได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้บรรจุแผนงาน / โครงการเกี่ยวกับโรคดังกล่าวขึ้นโดยกำหนดตัวชี้วัดไว้คือร้ออยละ 60 ของสตรีที่มีอายุ 30 - 60 ปี รวมทั้งกลุ่่มสตรีที่มีอายุระหว่าง 30 ปีขึ้นไป ต้องได้รับการตรวจหามะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมจาการปฏิบัติงานสาธารณสุขทางงด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค รักษาพยาบาลและฟื้นฟูสภาพ ผู้เจ็บป่วยของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังไทร ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา พบว่า ที่ผ่านมาจำนวนผู้มารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมของสตรีวัยเจริญพันธุ์กลุ่มเป้าหมายยังม่ได้ผลตามเป้าหมายที่กำหนดและประกออบกับไดด้พบเห็นผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้รับความทุกข์ทรมานจากการเจ็บป่วย รัฐบาลและผู้เกี่ยวข้องต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็นจำนวนมากในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในการนี้ถ้าหญิงกลุ่มวัยเจริญพันธุ์มารับการตรวจเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมอยู่อย่างสม่ำเสมอก็สามารถค้นหาโรคมะเร็งปากมดลกในระยะเริ่มต้น สามารถให้การช่วยเหลือ ดูแล รักษาได้ ผู้ป่วยก็จะไม่ต้องทุกข์ทรมานมากและก็สามารถมีอายุที่ยืนยาวได้อย่างมีประสิทธิภาพ และจากประสบการณ์การทำงานในชุมชนแและจากการวิเคราะห์ตามสถานการณ์พบว่า งานการเฝ้าระวังการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านมเป็นปัญหาสาธารณสุขที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ผลงานไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กระทรวงกำหนด หญิงวัยเจริญพันธุ์กลุ่มเป้าหมายไม่ค่อยมารับบริการ ทั้งนี้เพราะสตรีมีความละอาย มีความอดทนและโดยเฉพาะอย่างยิ่ง สตรีที่อยู่ในพื้นที่ชนบทจะมีความอดทนสูง ความละออายความไม่กล้าและอดทนที่มีอยู่นี้ก็อาจจะมีทั้งคุณและโทษในคราวเดียวกันได้ เช่นเเมื่อมีความผิดปกติเกี่ยวกับเรื่องของอวัยวะเพศแล้วไม่กล้าพูด ไม่กล้าบอกใครถึงเจ็บปวดก็มีความอดทน สิ่งนี้หากเขาเป็นโรคร้ายก็อาจสายเกินแก้ที่ไม่สามารถช่วยได้ในภายหลังงานการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมจึงเป็นงานยากต่อการปฏิบัติเป็นปััญหาต่อสาธารณสุขในพื้นที่ ทางทีมสุขภาพของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังไทร มีความตระหนักและเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจากการดำเนินงานการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังไทรเป้าหมายสตรีกลุ่ม อายุ 30 - 60 ปี จำนวน 884 คน คิดเป็นร้อยละ 20 เเท่ากับ 177 คน
  ดัังนั้นทางทีมสุขภาพของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังไทร มีความตระหนักและเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการวัยใสใส่ใจการตรวจคัดกรอง มะเร็งปากมดลูกแและเต้านมขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 - 60 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม
  2. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 -60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
  3. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 - 60 ปี สามารถตรวจเต้านมได้ด้วยตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุดชี้แจงเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. คณะกรรมการพัฒนา รพ.สต. ชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้าน อบต.ทับช้าง
  2. นัดกลุ่มเป้าหมายมาร่วมกิจกรรมอบรมและตรวจค้นหาโรค
  3. การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมายที่ไม่เคยได้รับการตรวจในรอบ 5 ปี ที่ผ่านมา
  4. ประเมินผลการดำเนินงาน
  5. สรุปแผนการดำเนินงานตามอผนงานโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 177
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สตรีกลุ่มอายุ 30 - 60 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม และมีทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และได้รับการตรวจพบมะเร็งในระยะเริ่มต้น 2.สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 - 60 ปี ที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและพบภาวะผิดปกติทุกชนิดได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาที่ถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดประชุดชี้แจงเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. คณะกรรมการพัฒนา รพ.สต. ชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้าน อบต.ทับช้าง

วันที่ 31 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดการประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. คณะกรรมการพัฒนา รพ.สต. ชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้าน อบต.ทับช้าง เพื่อการประชาสัมพันธ์โครงการ และสำรวจกลุ่มเป้าหมายและจัดทำทะเบียนกลุ่มสตรีอายุ 30 - 60 ปี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำในแต่ละหน่วยงานต่างๆ ได้เข้าร่วมประชุมเพื่ออเตรียมความพร้อมในการจัดทำโครงการ

 

177 0

2. นัดกลุ่มเป้าหมายมาร่วมกิจกรรมอบรมและตรวจค้นหาโรค

วันที่ 12 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

นัดกลุ่มเป้าหมายมาร่วมกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม และการตรวจ ค้นหา โรคและแนวทางการป้องกัน ลดปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็งและใึกการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายได้เเข้าร่วมอบรมและได้รับความรู้และได้ตรวจคัดกรองเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านมและวิธีการตรวจเต้านมด้วยตนเอง

 

0 0

3. การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมายที่ไม่เคยได้รับการตรวจในรอบ 5 ปี ที่ผ่านมา

วันที่ 12 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มเป้าหมายที่ไม่เคยรับการตรวจในรอบ 5 ปี ที่ผ่านมา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุมเป้าหมายที่ไม่เคยได้รับการตรวจในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา ได้เข้าร่วมการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก

 

0 0

4. ประเมินผลการดำเนินงาน

วันที่ 12 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินผลการดำเนินงาน โดยบทดสอบความรู้ก่อน - หลังการอบรม ฯ และทะเบียนกรตรวจคัดกรองโรคมะเร็.ปากมดลูกและแบบประเมินทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าอบรมรมได้ทำแบบทดสอบความรู้ก่อนและเหลังการอบรม เพื่อทดสอบความรู้เกี่ยวกับเรื่องของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

 

0 0

5. สรุปแผนการดำเนินงานตามอผนงานโครงการ

วันที่ 12 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

สรุปผลการดำเนินงานโครงการวัยใสใส่ใจการตรวจคัดกรอง มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สตรีกลุ่มเป้าหมายได้เข้าร่วมการอบรมให้ความรู้การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตามเป้าหมายทีวางไว้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.)สตรีกลุ่มออายุ 30 - 60 ปีมีความรู้เรื่อวมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก และมีทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และได้รับการตรวจพบมะเร็งระยะเริ่มต้น 2.)สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 -60 ปีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและพบภาวะผิดปกติทุกชนิดได้รับการส่งต่อเพื่อรักษาที่ถูกต้อง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 - 60 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม
ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 - 60 ปี ได้มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม
177.00 177.00

 

2 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 -60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก
177.00 177.00

 

3 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 - 60 ปี สามารถตรวจเต้านมได้ด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 - 60 ปี สามารถตรวจเต้านมได้ด้วยตนเอง
177.00 177.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 177
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 177
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการวัยใสใส่ใจการตรวจคัดกรอง มะเร็งปากมดลูกและเต้านม ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5198-2-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ต.ค. 60 - 30 ก.ย. 61 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,825.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทับช้าง เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 60 ปี มีความรู้และได้ตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 177 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้ คือ 1.)สตรีกลุ่มอายุ 30 - 60 ปีมีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมแและมะเร็งปากมดลูก และมัทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และได้รับการตรวจพบมะเร็งในระยะเริ่มต้น 2.)สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30- 60 ปี ที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและพบภภาวะผิดปกติทุกชนิดได้รับการส่งต่อเพื่อรักษาที่ถูกต้อง

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการวัยใสใส่ใจการตรวจคัดกรอง มะเร็งปากมดลูกและเต้านม

รหัสโครงการ 61-L5198-2-8 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

เกิดความรู้ในการป้องกันมะเร็งปากมดลูกแและเต้านม

ภาพถ่าย,ป้ายประชาสัมพันธ์

ทุกคนสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

การตรวจมะเร็งปากมดลูกและเต้านมโดยเจ้าหน้าที่

ภาพถ่าย

ทำต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

บริการตรวจสุขภาพโดยการตรวจมะเร็งปากมดลูกที่ รพ.สต.

ภาพถ่าย

ทำต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการวัยใสใส่ใจการตรวจคัดกรอง มะเร็งปากมดลูกและเต้านม จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5198-2-8

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรัตนาภรณ์ เต็มรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด