โครงการเด็กและเยาวชนห่างไกลจากพิษภัยบุหรี่
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเด็กและเยาวชนห่างไกลจากพิษภัยบุหรี่ ”
ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
สภาเด็กและเยาวชนตำบลเขาขาว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว
ชื่อโครงการ โครงการเด็กและเยาวชนห่างไกลจากพิษภัยบุหรี่
ที่อยู่ ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5310-2-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 สิงหาคม 2561 ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กและเยาวชนห่างไกลจากพิษภัยบุหรี่ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กและเยาวชนห่างไกลจากพิษภัยบุหรี่
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กและเยาวชนห่างไกลจากพิษภัยบุหรี่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5310-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 สิงหาคม 2561 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เมื่อปี 2546 คนไทยได้มีกฎหมาย เกี่ยวกับการห้ามสูบบุหรี่ในที่สาธารณะที่มีการห้ามสูบบุหรี่ในห้องอาหาร ในลิฟท์ในโรงพยาบาล ฯลฯ โดยมีโทษเอาผิดกับทั้งผู้สูบและเจ้าของสถานประกอบการค่อนข้างหนัก ทั้งนี้เพื่อเป้าหมายในการคุ้มครองผู้ที่ไม่ได้สูบบุหรี่จากการถูกคุกคามทางด้านสุขภาพ จากควันบุหรี่ของผู้ท่ีสูบในที่สาธารณะ แต่ถึงแม้จะมีกฎหมายต่าง ๆ เหล่านี้ออกมาในความจริงกลับปรากฎว่าจำนวนคนสูบบุหรี่ที่เป็นวัยรุ่นกลับยังมีจำนวนเพ่ิ่มมากขึ้น ทั้งนี้เพราะเพียงแค่ลำพัง การออกกฎหมายมากำกับเพียงอย่างเดียวนั้นไม่พอ แต่จะต้องให้ความรู้ ความเ่ข้าใจต่อคนทั่วไปถึงพิษภัยบุหรี่ และมุ่งเป้าไปในแง่ของการป้องกันไม่ให้ผู้ที่ยังไม่เคยสูบบุหรี่ นั้นเป็นเหยื่อของการโฆษณาบุหรี่และรู้สึกอยากลองสูบ จนตกเป็นทาสของบุหรี่ในที่สุด ซึ่งกลุ่มเป้าหมายที่สำคัญมาก คือ กลุ่มวัยรุ่น วัยรุ่นติดบุหรี่ ด้วยเหตุต่าง ๆหลายอย่าง ส่วนใหญ่เป็นจากสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะการมีเพื่อนที่สูบบุหรี่ หรือการที่คนในครอบครัวสูบบุหรี่จะเป็นสิ่งที่ทำให้วัยรุ่นผู้นั้นมีโอกาสสูบบุหรี่ได้มาก บางคนสูบบุหรี่โดยเข้าใจว่า จะทำให้เข้าสังคมกับเพื่อน ๆได้ง่ายขึ้น อย่างน้อยก็ไม่เขิน เมื่อตอนไม่รู้ว่าจะทำอะไรดีกับมือที่วางอยู่ บางคนรู่สึกการสูบบุหรี่ทำให้ดูว่าเขาเป็นผู้ใหญ่ขึ้น ไม่เป็นเด็กเหมือนก่อน สาววัยรุ่นมักจะเข้าใจว่า การสูบบุหรี่จะทำให้ สามารถลดน้ำหนักลงได้ง่ายขึ้นเพราะทั้งมือและปากไม่ว่าง ที่จะทำให้ทานอาหารได้บางคนก็สูบบุหรี่เพื่อระบาย ความเครียด จากปัญหาที่บ้านหรือที่โรงเรียน หรือเรื่องแฟน มีหลายครอบครัวที่ไม่พบว่ามีใครในบ้านสูบบุหรี่เลย แต่มีเฉพาะลูกคนที่เป็นวัยรุ่นสูบ เพราะวัยรุ่นหลายรายเลือกการสูบบุหรี่เป็นการแสดงออกเพื่อต่อต้านพ่อแม่ เพื่อต้องการแสดงให้พ่อแม่เห็นว่าตนเองนั้นโตแล้วและไม่ต้องการให้พ่อแม่มาบังคับเขา เขาโตพอที่จะเลือกตัดสินใจทำอะไรกับตัวของเขาเองแล้ว สภาเด็กและเยาวชนตำบลเขาขาว ตระหนักและให้ความสำคัญในปัญหาของเด็กและเยาวชนในเรื่องของการสูบบุหรี่จึงได้มีโครงการเด็กและเยาวชนห่างไกลจากพิษภัยบุหรี่เพื่อเด็กและเยาวชน จะได้รู้เท่าทันและปลอดภัยจากบุหรี่ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชนในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่อง รู้เท่าทันบุหรี่ มหันตภัยร้าย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
-เด็กและเยาวชนมีความรู้และรู้เท่าทันพิษภัยของบุหรี่
-เด็กและเยาวชนงดจากการสูบบุหรี่และปลอดภัยจากพิษภัยของควันบุหรี่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้เรื่อง รู้เท่าทันบุหรี่ มหันตภัยร้าย
วันที่ 22 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับบุหรี่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กและเยาวชนที่ร่วมโครงการ มีความรู้และรู้เท่าทันในพิษภัยของบุหรี่ และตระหนักถึงปัญหาที่เกิดจากบุหรี่ และสามารถแนะนำเพื่อนและคนในครอบครัวให้เลิกสูบบุหรี่
60
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
เด็กและเยาวชนที่ร่วมโครงการ มีความรู้และรู้เท่าทันในพิษภัยของบุหรี่ และตระหนักถึงปัญหาที่เกิดจากบุหรี่ และสามารถแนะนำเพื่อนและคนในครอบครัวให้เลิกสูบบุหรี่
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชนในชุมชน
ตัวชี้วัด : อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปีในชุมชนลดลงเหลือ(ร้อยละ)
50.00
50.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
60
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชนในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่อง รู้เท่าทันบุหรี่ มหันตภัยร้าย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเด็กและเยาวชนห่างไกลจากพิษภัยบุหรี่ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5310-2-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( สภาเด็กและเยาวชนตำบลเขาขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเด็กและเยาวชนห่างไกลจากพิษภัยบุหรี่ ”
ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
สภาเด็กและเยาวชนตำบลเขาขาว
ที่อยู่ ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5310-2-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 สิงหาคม 2561 ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กและเยาวชนห่างไกลจากพิษภัยบุหรี่ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กและเยาวชนห่างไกลจากพิษภัยบุหรี่
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กและเยาวชนห่างไกลจากพิษภัยบุหรี่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5310-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 สิงหาคม 2561 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เมื่อปี 2546 คนไทยได้มีกฎหมาย เกี่ยวกับการห้ามสูบบุหรี่ในที่สาธารณะที่มีการห้ามสูบบุหรี่ในห้องอาหาร ในลิฟท์ในโรงพยาบาล ฯลฯ โดยมีโทษเอาผิดกับทั้งผู้สูบและเจ้าของสถานประกอบการค่อนข้างหนัก ทั้งนี้เพื่อเป้าหมายในการคุ้มครองผู้ที่ไม่ได้สูบบุหรี่จากการถูกคุกคามทางด้านสุขภาพ จากควันบุหรี่ของผู้ท่ีสูบในที่สาธารณะ แต่ถึงแม้จะมีกฎหมายต่าง ๆ เหล่านี้ออกมาในความจริงกลับปรากฎว่าจำนวนคนสูบบุหรี่ที่เป็นวัยรุ่นกลับยังมีจำนวนเพ่ิ่มมากขึ้น ทั้งนี้เพราะเพียงแค่ลำพัง การออกกฎหมายมากำกับเพียงอย่างเดียวนั้นไม่พอ แต่จะต้องให้ความรู้ ความเ่ข้าใจต่อคนทั่วไปถึงพิษภัยบุหรี่ และมุ่งเป้าไปในแง่ของการป้องกันไม่ให้ผู้ที่ยังไม่เคยสูบบุหรี่ นั้นเป็นเหยื่อของการโฆษณาบุหรี่และรู้สึกอยากลองสูบ จนตกเป็นทาสของบุหรี่ในที่สุด ซึ่งกลุ่มเป้าหมายที่สำคัญมาก คือ กลุ่มวัยรุ่น วัยรุ่นติดบุหรี่ ด้วยเหตุต่าง ๆหลายอย่าง ส่วนใหญ่เป็นจากสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะการมีเพื่อนที่สูบบุหรี่ หรือการที่คนในครอบครัวสูบบุหรี่จะเป็นสิ่งที่ทำให้วัยรุ่นผู้นั้นมีโอกาสสูบบุหรี่ได้มาก บางคนสูบบุหรี่โดยเข้าใจว่า จะทำให้เข้าสังคมกับเพื่อน ๆได้ง่ายขึ้น อย่างน้อยก็ไม่เขิน เมื่อตอนไม่รู้ว่าจะทำอะไรดีกับมือที่วางอยู่ บางคนรู่สึกการสูบบุหรี่ทำให้ดูว่าเขาเป็นผู้ใหญ่ขึ้น ไม่เป็นเด็กเหมือนก่อน สาววัยรุ่นมักจะเข้าใจว่า การสูบบุหรี่จะทำให้ สามารถลดน้ำหนักลงได้ง่ายขึ้นเพราะทั้งมือและปากไม่ว่าง ที่จะทำให้ทานอาหารได้บางคนก็สูบบุหรี่เพื่อระบาย ความเครียด จากปัญหาที่บ้านหรือที่โรงเรียน หรือเรื่องแฟน มีหลายครอบครัวที่ไม่พบว่ามีใครในบ้านสูบบุหรี่เลย แต่มีเฉพาะลูกคนที่เป็นวัยรุ่นสูบ เพราะวัยรุ่นหลายรายเลือกการสูบบุหรี่เป็นการแสดงออกเพื่อต่อต้านพ่อแม่ เพื่อต้องการแสดงให้พ่อแม่เห็นว่าตนเองนั้นโตแล้วและไม่ต้องการให้พ่อแม่มาบังคับเขา เขาโตพอที่จะเลือกตัดสินใจทำอะไรกับตัวของเขาเองแล้ว สภาเด็กและเยาวชนตำบลเขาขาว ตระหนักและให้ความสำคัญในปัญหาของเด็กและเยาวชนในเรื่องของการสูบบุหรี่จึงได้มีโครงการเด็กและเยาวชนห่างไกลจากพิษภัยบุหรี่เพื่อเด็กและเยาวชน จะได้รู้เท่าทันและปลอดภัยจากบุหรี่ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชนในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่อง รู้เท่าทันบุหรี่ มหันตภัยร้าย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
-เด็กและเยาวชนมีความรู้และรู้เท่าทันพิษภัยของบุหรี่ -เด็กและเยาวชนงดจากการสูบบุหรี่และปลอดภัยจากพิษภัยของควันบุหรี่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้เรื่อง รู้เท่าทันบุหรี่ มหันตภัยร้าย |
||
วันที่ 22 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับบุหรี่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเด็กและเยาวชนที่ร่วมโครงการ มีความรู้และรู้เท่าทันในพิษภัยของบุหรี่ และตระหนักถึงปัญหาที่เกิดจากบุหรี่ และสามารถแนะนำเพื่อนและคนในครอบครัวให้เลิกสูบบุหรี่
|
60 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
เด็กและเยาวชนที่ร่วมโครงการ มีความรู้และรู้เท่าทันในพิษภัยของบุหรี่ และตระหนักถึงปัญหาที่เกิดจากบุหรี่ และสามารถแนะนำเพื่อนและคนในครอบครัวให้เลิกสูบบุหรี่
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชนในชุมชน ตัวชี้วัด : อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปีในชุมชนลดลงเหลือ(ร้อยละ) |
50.00 | 50.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | 60 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | 60 | |
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชนในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่อง รู้เท่าทันบุหรี่ มหันตภัยร้าย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเด็กและเยาวชนห่างไกลจากพิษภัยบุหรี่ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5310-2-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( สภาเด็กและเยาวชนตำบลเขาขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......