กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในกลุ่มเด็ก 0- 5 ปี ที่ มีความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : เด็ก 0- 5 ปีได้รับการ.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทาง โภชนาการ ทุก 3 เดือน ≥ร้อยละ90
94.48 0.00

 

2 เพื่อ พัฒนาศักยภาพ อสม.เรื่องความรู้และการเฝ้าระวังทางโภชนาการ และการใช้เครื่องมือ ที่ถูกต้อง และ เหมาะสม
ตัวชี้วัด : อสม. มีความรู้ สามารถชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงเด็กและอ่านค่า ตัวเลขได้ถูกต้องและเที่ยงตรง
90.00

 

3 เพื่อจัดให้มี และใช้เครื่องมือ การเฝ้าระวังทางโภชนาการ ในชุมชนอย่างเพียงพอและได้มาตรฐาน ของสำนักโภชนาการกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ตัวชี้วัด : ชุมชน มีชุดเครื่องชั่ง น้ำหนัก และที่วัดส่วนสูง ที่ได้มาตรฐาน อย่างน้อยหมู่บ้านละ 2 ชุด
100.00

 

4 เพื่อให้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของการฝ้าระวังทางโภชนาการและแก้ปัญหาทุพโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ )
ตัวชี้วัด : 1.เด็ก0-5ปี มีปัญหาทุพโภชนาการไม่เกินร้อยละ 7 2.เด็กอายุ 0-5 ปีสูงดีสมส่วน ร้อยละ 54
7.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 326 320
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 326 320
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในกลุ่มเด็ก 0- 5 ปี ที่      มีความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาทุพโภชนาการ  (2) เพื่อ พัฒนาศักยภาพ อสม.เรื่องความรู้และการเฝ้าระวังทางโภชนาการ และการใช้เครื่องมือ ที่ถูกต้อง  และ เหมาะสม (3) เพื่อจัดให้มี และใช้เครื่องมือ การเฝ้าระวังทางโภชนาการ ในชุมชนอย่างเพียงพอและได้มาตรฐาน  ของสำนักโภชนาการกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (4) เพื่อให้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของการฝ้าระวังทางโภชนาการและแก้ปัญหาทุพโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ )

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมย่อย.อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการ และการเลี้ยงดูเด็ก แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และผู้ปกครอง เด็ก 0-5 ปี แบ่งเป็น 3 รุ่นๆละ 50 คน (2) กิจกรรมย่อย จัดซื้อจัดจ้าง วัสดุอุปกรณ์  ตาม โครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh