กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี


“ โครงการ อสม.Smart Kids (อสม.) ประจำปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอฮานา เต็งมะ นางมาสนะ ลาสะ

ชื่อโครงการ โครงการ อสม.Smart Kids (อสม.) ประจำปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L2971-02-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อสม.Smart Kids (อสม.) ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม.Smart Kids (อสม.) ประจำปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อสม.Smart Kids (อสม.) ประจำปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L2971-02-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็ก เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตของชาติ ที่ควรได้รับการดูแลตั้งแต่ระยะการตั้งครรภ์ การคลอด และหลังคลอด ให้มีการเจริญเติบโตสมส่วน และพัฒนาการสมวัย ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสติปัญญา     ปัจจุบันเด็กไทย มีความฉลาดด้านอารมณ์และสติปัญญา แนวโน้มลดลง จากปัจจัยหลายๆอย่าง เช่น ความพร้อมในการดูแลสุขภาพทารกในครรภ์มารดา การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ภาวะโภชนาการ การเฝ้าระหวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย     ดังนั้น อสม.ได้เล็งเห็นความสำคัญ ของการดูแลส่งเสริมเฝ้าระวัง ตั้งแต่ระยะการตั้งครรภ์จนถึงเด็ก อายุ 5 ปี การส่งเสริมมารับบริการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ เด็ก 0-5 มารับบริการฉีดตามเกณฑ์ ตลอดจนการดูแลส่งเสริมภาวะโภชนาการพัฒนาการอย่างมีคุณภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างให้หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพทีดี สามารถดูแลตนเองได้ถูกต้องและเหมาะสม
  2. เพื่อสร้างเสริมและเฝ้าระวังโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน ดูแลภาวะโภชนาการ ส่งเสริมพัฒนาการ แก่ผู้ดูแลเด็ก
  3. เพื่อเสริมสร้างสายใย สร้างรัก ในครอบครัว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่หญิงตั้งครรภ์/สามีและญาติ
  2. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มผู้ดูแลเด็ก 0 – 5 ปี
  3. เสวนาเสริมสร้าง สายใย สร้างรักในครอบครัว
  4. ประเมินโภชนาการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 70
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 170
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 2.เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 3.เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัยและโภชนาการสมส่วน เพิ่มขึ้นร้อยละ 10
4.เด็กอาย 0-5 ปี มีสุขภาพช่องปากดีขึ้นร้อยละ 10


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ สามีและญาติ

วันที่ 10 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

-เลือกกลุ่มเป้าหมาย หญิงตั้งครรภ์ สามีและญาติ จำนวน 70 คน -จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับการดูแลขณะตั้งครรภ์ จนถึงหลังคลอด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-หญิงตั้งครรภ์มีความตระหนักในการฝากครรภ์ตามเกณฑ์ และเตรียมพร้อมสำหรับการคลอดและการดูแลหลังคลอด -สามีและญาติมีความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ตลอดจนถึงหลังคลอด

 

70 0

2. กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มแกผู้ดูแลเด็กอายุ 0 -5 ปี

วันที่ 16 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • เลือกกลุ่มเป้าหมายผู้ดูแลเด็กเด็กอายุ 0 -5 ปี จำนวน 70 คน
  • จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แก่ผู้ดูแลเด็ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เด็กอายุ 0 -5 ปี ได้รับวัคซีน ครบตามเกณฑ์ ร้อยละ 90
  • เด็กอายุ 0 -5 ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการตามวัย ร้อยละ 85
    • เด็กอายุ 0 -5 ปี ได้รับการดูแลสุขภาพ  ร้อยละ 90

 

70 0

3. กิจกรรมเสวนาเสริมสร้างสายใย สร้างรักในครอบครัว

วันที่ 23 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • หญิงตั้งครรภ์สามีญาติ ผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี จำนวน 100 คน -จัดกิจกรรมเสวนาเสริมสร้างในครอบครัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • สมาชิกในครอบครัวมีสุขภาพดี
  • ผู้ดูแลเด็กพาบุตรหลานมารับบริการเสริมสร้างสุขภาพท่ีจัดขึ้นในฃุมฃนและสถานบริการเพิ่มขึ้น
  • ครอบครัวมีความรักและความสามัคคี

 

100 0

4. กิจกรรมประเมินโภชนาการและสาธิตอาหารในชุมชน

วันที่ 30 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

-เลือกกลุ่มเป้าหมาย เด็ก อายุ 0 - 5 ปี จำนวน 350 คน - จัดกิจกรรม ประเมินภาวะโภชนาการ -จัดกิจกรรมสาธิตอาหารในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เด็ก อายุ 0-5 ปี ไก้รับการเฝ้ารังและประเมินภาวะโภชนาการ
  • ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ในทำอาหารท่ีมีประโยชน์

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

-หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามเกณฑ์ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 -เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 8 -เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการและโภชนาการตามวัย เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 เด็กอายุ 0-5 ปี มีสุขภาพในช่องปากดีขึ้น ร้อยละ 8

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างให้หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพทีดี สามารถดูแลตนเองได้ถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และทัศคติที่ สามารถดูแลตนเองได้ถูกต้อง มารับบริการตามเกณฑ์ ร้อยละ 90
90.00 80.00

 

2 เพื่อสร้างเสริมและเฝ้าระวังโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน ดูแลภาวะโภชนาการ ส่งเสริมพัฒนาการ แก่ผู้ดูแลเด็ก
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 0-5 ปี มารับบริการฉีดวัคซีน การตรวจประเมินพัฒนาการ โภชนาการและสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 90
90.00 82.00

 

3 เพื่อเสริมสร้างสายใย สร้างรัก ในครอบครัว
ตัวชี้วัด : มีครอบครัว Smart Mom, Smart kids และ Smart Family
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 240 240
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 70 70
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 170 170
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างให้หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพทีดี สามารถดูแลตนเองได้ถูกต้องและเหมาะสม (2) เพื่อสร้างเสริมและเฝ้าระวังโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน ดูแลภาวะโภชนาการ ส่งเสริมพัฒนาการ แก่ผู้ดูแลเด็ก (3) เพื่อเสริมสร้างสายใย สร้างรัก ในครอบครัว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่หญิงตั้งครรภ์/สามีและญาติ (2) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มผู้ดูแลเด็ก 0 – 5 ปี (3) เสวนาเสริมสร้าง สายใย สร้างรักในครอบครัว (4) ประเมินโภชนาการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

-เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์/ไม่ได้มาตรวจประเมินพัฒนาการ/โภชนาการ/ตรวจฟันตามช่วงอายุ

เด็ก 0-5 ปี บางรายไม่ได้อยู่ในพื้นที่ ทำให้มีอุปสรรคในการติดตามในการมารับบริการ

  • ประสาน อสม/ผู้ปกครองให้นำเด็กมารับบริการตามตารางคลีนิค หากไม่สะดวกที่จะมารับบริการในวันดังกล่าวให้ประสานกับเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบงานเพื่อที่จะได้ออกให้บริการเชิงรุกหรือนัดในวันที่ผู้รับบริการสะดวก

โครงการ อสม.Smart Kids (อสม.) ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L2971-02-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรอฮานา เต็งมะ นางมาสนะ ลาสะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด