กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส


“ โครงการชุมชนร่วมใจกำจัดภัยที่เกิดจากยุงลาย (เชิงรุก) (อสม./ศสม.กำปงบารู) ”

อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางอรวรรณ บินอุเซ็ง

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจกำจัดภัยที่เกิดจากยุงลาย (เชิงรุก) (อสม./ศสม.กำปงบารู)

ที่อยู่ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L7885-2-53 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 31 มีนาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนร่วมใจกำจัดภัยที่เกิดจากยุงลาย (เชิงรุก) (อสม./ศสม.กำปงบารู) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจกำจัดภัยที่เกิดจากยุงลาย (เชิงรุก) (อสม./ศสม.กำปงบารู)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจกำจัดภัยที่เกิดจากยุงลาย (เชิงรุก) (อสม./ศสม.กำปงบารู) " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L7885-2-53 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 31 มีนาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 99,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคที่เกิดจากยุงลาย(ไข้เลือดออก,ไข้ไวรัสซิกาและไข้ชิกุนคุนยา) และรู้ถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้นเมื่อเป็นโรค
  2. เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ชุมชนได้เห็นความสำคัญในการรักษาความสะอาดของสิ่งแวดล้อมและไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
  3. เพื่อให้ชุมชนมีความมุ่งมั่นที่จะกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายตลอดจนสามารถดูแลและป้องกันตนเองไม่ให้เกิดโรคได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 9
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ชุมชนมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคที่เกิดจากยุงลาย (ไข้เลลือดออก,ไข้ไวรัสซิกาและไข้ชิกุนคุนยา) และรู้ถึงอันตรายที่เกิดขึ้นเมื่อเป็นโรค 2.ชุมชนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญในการดูแลรักษาความสะอาดของสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง 3.ชุมชนมีการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องตลอดจนสามารถดูแลและป้องกันตนเองไม่ให้เกิดโรคได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้แก่ประชาชนจิตอาสาเกี่ยวกับเรื่องโรคไข้เลือดออก/ไข้ซิกา/ไข้ชิคุนกุนยา

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อบรมเรื่องวงจรชีวิตยุงลายและการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงที่ได้ผลดีที่สุด ทั้ง 9 ชุมชน จำนวนชุมชนละ 40 คนและได้ดำเนินการเสร็จสิ้นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว

     

    360 360

    2. กิจกรรมเชิงรุก ออกร่วมรณรงค์กำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.จัดกิจกรรมเชิงรุก โดยประชาชนจิตอาสาของชุมชน ทั้ง 9 ชุมชน ได้ออกร่วมรณรงค์กำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย โดยดำเนินกิจกรรมกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมและช่วยกันเก็บกวาดบริเวณที่พักอาศัย ตลอดจนร่วมกันเก็บทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงในชุมชน/โรงเรียนและศาสนสถาน ทุกๆวันศุกร์ 6 สัปดาห์ติดต่อกันในพื้นที่
    2.ประชาชนจิตอาสา 9 ชุมชน ได้ดำเนินการหยอดทรายอะเบท ในแหล่งน้ำ/น้ำใช้ คว่ำภาชนะที่เป็นแหล่งรังโรค พร้อมทั้งแจกแผ่นพับประชาสัมพันธ์เรื่องโรคและให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไปในชุมชน โรงเรียน และศาสนสถานทุกๆวันศุกร์ 6 สัปดาห์ติดตจ่อกันในพื้นที่ ทั้ง 9ชุมชน

     

    180 180

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผลประกฏว่าค่าดัชนีชี้วัดหลังคาเรือนที่สำรวจพบว่า มีลูกน้ำยุงลาย(HI) จากการเปรียบเทียบผลการดำเนินงานตั้งแต่สัปดาห์ที่ 1-6 ในภาพรวม มีค่าดัชนีลดลงอย่างเห็นได้ชัดเจน โดยค่าเฉลี่ยของดำเนินการครั้งที่ 1 ค่าHI มีค่าเท่ากับ 22.73 และค่า HI ของการดำเนินการครั้งที่ 6มีค่าเท่ากับ 9.24 ดดยลดลงเท่ากับ 13.49 ส่วนค่าดัชนีชี้วัดภาชนะที่พบลูกน้ำยุงลาย(BI.) จากการเปรียบเทียบผลการดำเนินงานตั้งแต่สัปดาห์ที่ 1-6 ในภาพรวม มีค่าดัชนีลดลงอย่างเห็นได้อย่างชัดเจนเช่นกัน โดยค่าเฉลี่ยของการดำเนินการสัปดาห์ที่ 1 ค่าBI.มีค่าเท่ากับ41.48 และค่า BI.ของการดำเนินการสัปดาห์ที่ 6 มีค่าเท่ากับ 11.19 โดยลดลงเท่ากับ 30.29 ส่วนค่าดัชนีชี้วัดการพบลูกน้ำยุงลายในศาสนสถานและโรงเรียน (CI.) มีค่าเท่ากับ 0 คือ ไม่พบลูกน้ำยุงลาย

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคที่เกิดจากยุงลาย(ไข้เลือดออก,ไข้ไวรัสซิกาและไข้ชิกุนคุนยา) และรู้ถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้นเมื่อเป็นโรค
    ตัวชี้วัด : ชุมชนมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคที่เกิดจากยุงลาย (ไข้เลลือดออก,ไข้ไวรัสซิกาและไข้ชิกุนคุนยา) และรู้ถึงอันตรายที่เกิดขึ้นเมื่อเป็นโรค

     

    2 เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ชุมชนได้เห็นความสำคัญในการรักษาความสะอาดของสิ่งแวดล้อมและไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
    ตัวชี้วัด : ชุมชนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญในการดูแลรักษาความสะอาดของสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง

     

    3 เพื่อให้ชุมชนมีความมุ่งมั่นที่จะกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายตลอดจนสามารถดูแลและป้องกันตนเองไม่ให้เกิดโรคได้
    ตัวชี้วัด : ชุมชนมีการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องตลอดจนสามารถดูแลและป้องกันตนเองไม่ให้เกิดโรคได้

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 9
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 9
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคที่เกิดจากยุงลาย(ไข้เลือดออก,ไข้ไวรัสซิกาและไข้ชิกุนคุนยา) และรู้ถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้นเมื่อเป็นโรค (2) เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ชุมชนได้เห็นความสำคัญในการรักษาความสะอาดของสิ่งแวดล้อมและไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย (3) เพื่อให้ชุมชนมีความมุ่งมั่นที่จะกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายตลอดจนสามารถดูแลและป้องกันตนเองไม่ให้เกิดโรคได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชุมชนร่วมใจกำจัดภัยที่เกิดจากยุงลาย (เชิงรุก) (อสม./ศสม.กำปงบารู) จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L7885-2-53

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางอรวรรณ บินอุเซ็ง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด