กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อโดยยุงลาย ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.ฉลุง
รหัสโครงการ 61-50097-2-09
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.ฉลุง
วันที่อนุมัติ 1 สิงหาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 สิงหาคม 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 55,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางรำจวน ระฆังทอง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.725,100.035place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 7371 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนหลังคาเรือน
1,362.00
2 โรงเรียนในเขตรับผิดชอบ
10.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี และพบว่าประชากรที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกมากที่สุด ได้แก่ กลุ่มเด็กวัยเรียนที่มีอายุ ตั้งแต่ ๕-๑๔ ปี รองลงมาคือ เด็กก่อนวัยเรียนและเด็กโตตามลำดับ ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยไข้เลือดออกในผู้ใหญ่และมีการเกิดโรคตลอดทั้งปี ช่วงเวลาที่พบมากที่สุดคือช่วงฤดูฝน ปี ๒๕๖๐ ตั้งแต่เดือน มกราคม– ธันวาคม๒๕๖๐ มีรายงานผู้ป่วย ๒๘ราย ในปี ๒๕๖๑ ตั้งแต่ เดือนมกราคม – มิถุนายน พบผู้ป่วย๒๑ ราย อีกทั้งยังมีแนวโน้มการระบาดของโรค ชิคุนกุนยา อำเภอเมืองสตูล เริ่มมีผู้ป่วยตั้งแต่เดือน พฤษภาคม – กรกฎาคม ๒๕๖๑จำนวน ๑๙๗ ราย และมีแนวโน้มที่จะสูงขึ้นเรื่อยๆ โรคไข้เลือดออก กลายเป็นปัญหา โรคติดต่อประจำถิ่นที่พบการระบาด ในพื้นที่ ตำบลฉลุง ทุกปี สาเหตุ คือประชากรขาดความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับภาหะนำโรคไข้เลือดออก ขาดความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ ไม่ตระหนักถึงการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงในบ้านเรือนตนเอง องค์การบริหารส่วนตำบลฉลุงได้ดำเนินการตามมาตรการหลากหลายวิธี โดยคลอบคลุม เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นการเฝ้าระวัง การสนับสนุนวัสดุสารเคมี และการบริหารจัดการโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ให้มีประสิทธิภาพจนสามารถควบคุมการระบาดได้โดยการดำเนินการตามมาตรการ การควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกเป็นอย่างดี และเพื่อให้การดำเนินงานมีความต่อเนื่อง ในการนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลฉลุง จึงได้จัดทำโครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑ เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในทุกกลุ่มอายุ ๒ เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาน และยุงลายพาหะนำโรคในบ้าน ชุมชน โรงเรียน ๓ เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชน ตื่นกลัว และตระหนักถึงการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก

๑.อัตราการเกิดโรคลดลง และสามารถควบคุมโรคได้ในเวลาอันสั้น ๒.ประชาชนทุกกลุ่มอายุ ตระหนักและเห็นความสำคัญของการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก ด้านการควบคุมภาหะ ด้านสิ่งแวดล้อม และการป้องกันโรค ๓.สามารถเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างองค์กร ผู้นำชุมชน และโรงเรียน

2.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้ปวดข้อยุงลาย

  ๑.อัตราการเกิดโรคลดลง และสามารถควบคุมโรคได้ในเวลาอันสั้น ๒.ประชาชนทุกกลุ่มอายุ ตระหนักและเห็นความสำคัญของการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก ด้านการควบคุมภาหะ ด้านสิ่งแวดล้อม และการป้องกันโรค ๓.สามารถเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างองค์กร ผู้นำชุมชน และโรงเรียน

2.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 55,800.00 0 0.00
??/??/???? กิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ทำความสะอาดในชุมชน โดย อสม. เดือน ละ ๔ ครั้ง ๒ เดือน 0 23,000.00 -
??/??/???? ๓.กิจกรรมสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ๒ ครั้ง โดยเจ้าหน้าที่ และคณะทำงาน อสม. 0 10,800.00 -
??/??/???? - พ่นสารเคมี ฆ่ายุงตัวแก่ในรัศมี ๑๐๐ เมตรจากบ้านผู้ป่วยให้มันเวลา ตามระยะเวลาการควบคุมโรค - จัดบริการผู้ป่วยสงสัยโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลายในพื้นที่ เพื่อควบคุมป้องกันการระบาด 0 22,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.อัตราการเกิดโรคลดลง และสามารถควบคุมโรคได้ในเวลาอันสั้น ๒.ประชาชนทุกกลุ่มอายุ ตระหนักและเห็นความสำคัญของการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก ด้านการควบคุมภาหะ ด้านสิ่งแวดล้อม และการป้องกันโรค ๓.สามารถเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างองค์กร ผู้นำชุมชน และโรงเรียน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 ก.ค. 2561 00:00 น.