กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ประจำปี 2561 ”
ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางรอฮีหม๊ะ มะมิง




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 กรกฎาคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ประจำปี 2561 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในกลุ่มเด็ก อายุ 0 - 72 เดือน ที่เสี่ยบต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ (2) 2.เพื่อส่งเสริมให้เด็ก อายุ 0-72 เดือน มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย (3) 3.เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กตระหนักถึงภาวะโภชนาการในเด็ก 0- 72 เดือน (4) 4.เพื่อส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0- 72 เดือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ทุกคนอยากมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย ซึ่งการกินอาหารถูกต้อง เหมาะสม และพอเพียงจะทำให้มีโภชนาการดี และนำไปสู่การมีสุขภาพดี ในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหาร โภชนาการจึงเป็นเรื่องของการกินอาหาร ที่ร่างกายเรานำสารอาหารไปใช้ประโยชน์ และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชนในวัยต่าง ๆ ในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัย ทั้งเด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในเด็กอายุ 0-72 เดือน เป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย  จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญ เหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ 2 ปี แรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมอง มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด เพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน อาหารและโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัย 0-72 เดือน ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัย จากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม  การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง และจากการประเมินผลการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็ก อายุ 0-72 เดือน ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนิบงบารู ปี 2561 มีเด็กน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 40 คน จากเด็กทั้งหมดในหมู่บ้าน 1,135 คน    คิดเป็นร้อยละ 3.52 ซึ่งตามเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข กำหนดให้มีไม่เกินร้อยละ 2 พร้อมกับมีการส่งเสริมพัฒนาการเด็กในกลุ่มนี้ควบคู่กันไปด้วย
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนิบงบารู ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา      ได้เล็งเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังทางโภชนาการ และส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน เพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าและเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ประจำปี 2561 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในกลุ่มเด็ก อายุ 0 - 72 เดือน ที่เสี่ยบต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ
  2. 2.เพื่อส่งเสริมให้เด็ก อายุ 0-72 เดือน มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
  3. 3.เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กตระหนักถึงภาวะโภชนาการในเด็ก 0- 72 เดือน
  4. 4.เพื่อส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0- 72 เดือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็ก อายุ 0 - 72 เดือน ได้รับการประเมินโภชนาการและพัฒนาการ คิดเป็นร้อยละ 85 2.เด็ก อายุ 0 -72 เดือน มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 80 3.เด็ก อายุ 0 -72 เดือน มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคมคิดเป็นร้อยละ 85 4.ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงภาวะโภชนาการในเด็ก 0 -72 เดือน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้

วันที่ 28 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

.

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

-โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนิบงบารู ได้ดำเนินโครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการและส่งเสิรมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ประจำปี 2561 ในกิจกรรมที่วางแผนไว้ทุกกิจกรรม โดยมีการชี้แจงโครงการแก่ อสม. พร้อมทั้งชี้แจงข้อมูลเด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ และให้ อสม. ประชาสัมพันธ์แก่กลุ่มเป้าหมาย         - ให้สุขศึกษาแก่ผู้ปกครองเด็กในการเลี้ยงดูบุตรให้มีน้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐาน และแจกอาหารเสริม (นม) แก่เด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ พร้อมประเมินพัฒนาการตามวัย มีการติดตามชั่งน้ำหนักเด็กกุล่มเป้าหมาย เดือนละครั้ง และลงบันทึกในสมุดบันทึกสุขภาพ แปลผลโดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตสำหรับเด็กของกรมอนามัย ซึ่งในการดำเนินกิจกรรมได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองเด็กในการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นอย่างดี เกิดความรักความสัมพันธ์ระหว่างเด็กและผู้ปกครองหรือผู้ดูแล ทำให้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กลดลง         - เด็กอายุ 0-72 เดือน ได้รับการประเมินภาวะโภชนาการและพัฒนากร คิดเป็นร้อยละ 100         - เด็กอายุ 0-72 เดือน มีภาวะโภชนาการน้ำหนักตามเกณฑ์อายุ คิดเป็นร้อยละ 85.99 (ต้องมากว่าร้อยละ 80)         - เด็กอายุ 0-72 เดือน มีพัมนาการสมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม คิดเป็นร้อยละ 97.92 (ต้องมากกว่าร้อยละ 85)         - หลังเข้ารับการอบรมผู้ปกครองเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ เพิ่มขึ้นร้อยละ 84.12

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในกลุ่มเด็ก อายุ 0 - 72 เดือน ที่เสี่ยบต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2.เพื่อส่งเสริมให้เด็ก อายุ 0-72 เดือน มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3.เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กตระหนักถึงภาวะโภชนาการในเด็ก 0- 72 เดือน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 4.เพื่อส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0- 72 เดือน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในกลุ่มเด็ก อายุ 0 - 72 เดือน ที่เสี่ยบต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ (2) 2.เพื่อส่งเสริมให้เด็ก อายุ 0-72 เดือน มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย (3) 3.เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กตระหนักถึงภาวะโภชนาการในเด็ก 0- 72 เดือน (4) 4.เพื่อส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0- 72 เดือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ประจำปี 2561 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรอฮีหม๊ะ มะมิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด