กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังดาลำ


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2561 ”

อาคารอเนกประสงค์ อบต.มะนังดาลำ

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลการิม กะมะ ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2561

ที่อยู่ อาคารอเนกประสงค์ อบต.มะนังดาลำ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L305-01-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 สิงหาคม 2561 ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2561 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อาคารอเนกประสงค์ อบต.มะนังดาลำ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังดาลำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อาคารอเนกประสงค์ อบต.มะนังดาลำ รหัสโครงการ 61-L305-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 สิงหาคม 2561 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 75,895.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังดาลำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อซึ่งมียุงลายบ้านและยุงลายสวนเป็นแมลงพาหะนำโรคที่สำคัญการระบาดของโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนจะพบผู้ป่วยเป็นจำนวนมากเนื่องจากฝนที่ตกลงมาทำให้เกิดน้ำขังในภาชนะต่างๆ จึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เพิ่มจำนวนประชากรของยุงลายพาหะนำโรคได้เป็นอย่างดี การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพควรต้องเตรียมพร้อมควบคุมกำจัดยุงลายก่อนจะถึงช่วงฤดูการระบาดของโรคเพื่อลดจำนวนประชากรของยุงลายในพื้นที่และเพื่อทราบความเสี่ยงการเกิดโรคในพื้นที่ต่อไป ปัจจัยการระบาดที่สำคัญที่ทำให้มีการระบาดและมีการขยายพื้นที่ออกไปอย่างกว้างขวาง ได้แก่ การเพิ่มจำนวนของประชากรเพิ่มขึ้นมีการเคลื่อนไหวของประชากรและมียุงลายมากขึ้นตามการเพิ่มของภาชนะขังน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้นการคมนาคมที่สะดวกขึ้นทั้งทางบกและทางอากาศทำให้มีการเดินทางมากขึ้นทั้งภายในและต่างประเทศ ปัจจัยเหล่านี้ทำให้การแพร่กระจายของเชื้อไวรัสเดงกี่ เป็นไปอย่างรวดเร็วนอกจากนี้ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกอีกประการหนึ่ง ได้แก่ การที่พื้นที่มีเชื้อไวรัสเดงกี่ชุกชุมและมีมากกว่าหนึ่งชนิดในเวลาเดียวกันหรือการติดเชื้อซ้ำซึ่งมีผลต่อการระบาดและแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออกด้วย ในการนี้ งานควบคุมโรค กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลมะนังดาลำ จึงได้จัดทาโครงการรณรงค์ ส่งเสริม ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ในเขตตำบลมะนังดาลำ ขึ้นเพื่อเตรียมความพร้อมรับมือ “โรคไข้เลือดออก”ก่อนฤดูการระบาด เพื่อลดโอกาสการสัมผัสระหว่างมนุษย์กับแมลงพาหะนำโรค ซึ่งเป็น การลดความเสี่ยงของประชาชนในชุมชนต่อการติดเชื้อโรคไข้เลือดออก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อเน้นย้ำให้ประชาชนตระหนักในความสำคัญของการป้องกันโรคไข้เลือดออก ๒. เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลมะนังดาลำ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 500 คน
  2. ค่าอาหารกลางวัน ๕๐๐ คน x ๕๐ บาท
  3. ค่าวิทยากร ๕ ชั่วโมง
  4. ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด ๑ x ๓ เมตร จำนวน ๑ ผืน
  5. ค่าวัสดุ เครื่องเขียน และอุปกรณ์ จำนวน ๕๐๐ ชุด x ๒๕ บาท
  6. ค่าเช่าโต๊ะ ๒ ตัว x ๑๐ บาท
  7. ค่าเช่าเก้าอี้ ๕๐๐ ตัว x ๕ บาท
  8. ค่าป้ายไวนิลให้ความรู้ จำนวน ๖ ผืน
  9. ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
  10. อาการและการป้องกันโรคไข้เลือด
  11. การควบคุมและการทำลายแล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
  12. สถานการณ์การระบาดโรคไข้เลือดออกในปัจจุบัน
  13. ปลูกสร้างจิตสำนึกและความตระหนักในเรื่องไข้เลือดออก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 500
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนมีความเข้าใจและตระหนักในความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและเกิดความร่วมมือในการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง ๒. สามารถควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก

วันที่ 16 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้โดยวิทยากร เรื่องโรคไข้เลือดออก เวลา 09.00 น. – 10.00 น. ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม 500 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สภาพสิ่งแวดล้อมสะอาดไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ไม่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรายใหม่

 

0 0

2. อาการและการป้องกันโรคไข้เลือด

วันที่ 16 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้ โดยวิทยากร เรื่อง อาการและการป้องกันโรคไข้เลือด 1 ชั่วโมง ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 500 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนในชุมชนมะนังมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออกมากขึ้น

 

0 0

3. การควบคุมและการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

วันที่ 16 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้โดยวิทยากร เรื่องการควบคุมและการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย จำนวน 1 ชั่วโมง ผู้เข้าอบรมจำนวน 500 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและผู้ป่วยโรคใข้เลือดออกในชุมชนมะนังดาลำ

 

0 0

4. สถานการณ์การระบาดโรคไข้เลือดออกในปัจจุบัน

วันที่ 16 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้โดยวิทยากร เรื่อง สถานการณ์การระบาดโรคไข้เลือดออกในปัจจุบัน จำนวน 1 ชั่วโมง จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม 500 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนรู้สถานการณ์ผู้ปวยในปัจจุบัน

 

0 0

5. ปลูกสร้างจิตสำนึกและความตระหนักในเรื่องโรคไข้เลือดออก

วันที่ 16 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้โดย วิทยากร เรื่องการปลูกสร้างจิตสำนึกและความตระหนักในเรื่องโรคไข้เลือดออก จำนวน 1 ชั่วโมง จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม 500 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีความตระหนักในเรื่องโรคไข้เลือดออกมากขึ้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อเน้นย้ำให้ประชาชนตระหนักในความสำคัญของการป้องกันโรคไข้เลือดออก ๒. เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลมะนังดาลำ
ตัวชี้วัด : ๑.ประชาชนให้ความสำคัญเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก ๒.ประชาชนมีความรู้วิธีป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 500
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อเน้นย้ำให้ประชาชนตระหนักในความสำคัญของการป้องกันโรคไข้เลือดออก  ๒. เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลมะนังดาลำ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 500 คน (2) ค่าอาหารกลางวัน ๕๐๐ คน x ๕๐ บาท (3) ค่าวิทยากร  ๕ ชั่วโมง  (4) ค่าป้ายไวนิลโครงการ  ขนาด ๑ x ๓ เมตร  จำนวน ๑ ผืน (5) ค่าวัสดุ เครื่องเขียน และอุปกรณ์ จำนวน ๕๐๐ ชุด x ๒๕ บาท  (6) ค่าเช่าโต๊ะ ๒ ตัว x ๑๐ บาท  (7) ค่าเช่าเก้าอี้ ๕๐๐ ตัว x ๕ บาท  (8) ค่าป้ายไวนิลให้ความรู้ จำนวน ๖ ผืน (9) ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก (10) อาการและการป้องกันโรคไข้เลือด (11) การควบคุมและการทำลายแล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย (12) สถานการณ์การระบาดโรคไข้เลือดออกในปัจจุบัน (13) ปลูกสร้างจิตสำนึกและความตระหนักในเรื่องไข้เลือดออก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2561 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L305-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลการิม กะมะ ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด