ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลหนองจิก
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม
ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-1-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม
บทคัดย่อ
โครงการ " ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3065-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มะเร็งเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศต่างๆทั่วโรค ในประเทศที่พัฒนาแล้วอัตราการเป็นมะเร็งสู
กว่าประเทศกำลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนากล่าวคือในประเทศสหรัฐอเมริกาอัตราการเป็นมะเร็งในคนผิวขาว432ต่อประชากรแสนคนและคนผิวดำ317.4 ต่อประชากรแสนคนในประเทศแคนนาดา พบอัตราเป็นมะเร็ง311.6 ต่อประชากรแสนคนและในประเทศญี่ปุ่นพบอัตราเป็นโรคมะเร็ง205.4 ต่อประชากรแสนคนในประเทศที่กำลังพัฒนา จะพบมีอัตราการเกิดโรคมะเร็งเพิ่มสูงตามไปด้วยองค์การอนามัยโลกได้ประมาณ อัตราการเพิ่มขึ้นของโรคมะเร็งในอนาคตอีก 20 ปีข้างหน้าจะเพิ่มเป็น 2เท่าของปัจจุบัน
สถานการณ์ของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เป็นปัญหาทางสาธารณสุขของโลก
โดยเฉพาะในประเทศที่กำลังพัฒนาในประเทศไทยโรคมะเร็ง พบมากที่สุดระหว่าง 45-50 ปีทำให้เกิดการสูญเสียทรัพยากรบุคคลและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกต้องมีการค้นหา โดยการตรวจหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรกและ ในระยะก่อนเป็นมะเร็งซึ่งสามารถรักษาให้หายได้ และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลาม และจากการศึกษาขององค์การอนามัยโลก ได้พบว่าการคัดกรองด้วยการทำ pap smearในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30- 60ปีและการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้ เพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายดังกล่าวอันจะช่วยทำให้พบผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้ตั้งแต่ระยะแรกได้มากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ลดอัตราการตายจากโรคมะเร็งได้อีกทางหนึ่ง
จากเหตุผลเบื้องต้น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้กำหนดการดำเนินงานควบคุมและ
ป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก เป็นงานหลักให้กับทุกสถานบริการเร่งรัดการดำเนินการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 30- 60 ปี ที่ผ่านมา กลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการด้านปฐมภูมิโรงพยาบาลหนองจิก ได้ดำเนินการตามนโยบาย และจากการดำเนินงานของกลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการด้านปฐมภูมิโรงพยาบาลหนองจิก พบปัญหาในการดำเนินงาน เป็นการดำเนินงานที่บรรลุเป้าหมายยากมาก เพราะประชาชน ยังไม่ตระหนักถึงความอันตรายของโรค มีความอายในการมาตรวจ
ดังนั้นกลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการด้านปฐมภูมิโรงพยาบาลหนองจิก ตระหนักถึงปัญหา
และเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเนื่องจากสามารถรักษาได้ หากตรวจพบในระยะเริ่มแรก จึงได้จัดทำโครงการควบคุมและป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เพื่อค้นหามะเร็งมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก ให้ครอบคลุมประชากรระดับหนึ่งซึ่งจะช่วยลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม โดยมุ่งหวังความสำเร็จให้สุขภาพของประชาชน พ้นจากมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และตระหนักในเรื่องของมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม
- เพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะแรก
- เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สตรีกลุ่มเป้าหมายซึ่งมีอายุ 30–60ปี ได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะร็งปากมดลูกและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ในสถานบริการ
- สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 30-60ปีที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม และพบภาวะผิดปกติทุกชนิด ได้รับการรักษาโดยแพทย์และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกคน
- อสม.และแกนนำครอบครัวมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับให้กลุ่มเป้าหมายและสามารถนำกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกได้อย่างครอบคลุม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1. ประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในเครือข่าย อสม.และกลุ่มเป้าหมายสตรีอายุ 30-60 ปี เพื่อค้นหาวิธีการใหม่ๆในการชักชวนกลุ่มเป้าหมายเข้าตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
2. ได้มีการสำรวจกลุ่มเป้าหมายที่อาศัยอยู่จริงในพื้นที่รับผิดชอบ จำนวน 50 ราย
3. จัดประชุมอบรมให้ความรู้แก่ อสม . และกลุ่มเป้าหมาย เข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จำนวน 50 ราย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และตระหนักในเรื่องของมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มเป้าหมายซึ่งมีอายุ 30–60ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ร้อยละ 20
2
เพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะแรก
ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มเป้าหมายซึ่งมีอายุ 30–60ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ร้อยละ 20
3
เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และตระหนักในเรื่องของมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม (2) เพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะแรก (3) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลหนองจิก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลหนองจิก
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-1-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม
บทคัดย่อ
โครงการ " ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3065-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มะเร็งเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศต่างๆทั่วโรค ในประเทศที่พัฒนาแล้วอัตราการเป็นมะเร็งสู
กว่าประเทศกำลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนากล่าวคือในประเทศสหรัฐอเมริกาอัตราการเป็นมะเร็งในคนผิวขาว432ต่อประชากรแสนคนและคนผิวดำ317.4 ต่อประชากรแสนคนในประเทศแคนนาดา พบอัตราเป็นมะเร็ง311.6 ต่อประชากรแสนคนและในประเทศญี่ปุ่นพบอัตราเป็นโรคมะเร็ง205.4 ต่อประชากรแสนคนในประเทศที่กำลังพัฒนา จะพบมีอัตราการเกิดโรคมะเร็งเพิ่มสูงตามไปด้วยองค์การอนามัยโลกได้ประมาณ อัตราการเพิ่มขึ้นของโรคมะเร็งในอนาคตอีก 20 ปีข้างหน้าจะเพิ่มเป็น 2เท่าของปัจจุบัน
สถานการณ์ของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เป็นปัญหาทางสาธารณสุขของโลก
โดยเฉพาะในประเทศที่กำลังพัฒนาในประเทศไทยโรคมะเร็ง พบมากที่สุดระหว่าง 45-50 ปีทำให้เกิดการสูญเสียทรัพยากรบุคคลและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกต้องมีการค้นหา โดยการตรวจหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรกและ ในระยะก่อนเป็นมะเร็งซึ่งสามารถรักษาให้หายได้ และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลาม และจากการศึกษาขององค์การอนามัยโลก ได้พบว่าการคัดกรองด้วยการทำ pap smearในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30- 60ปีและการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้ เพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายดังกล่าวอันจะช่วยทำให้พบผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้ตั้งแต่ระยะแรกได้มากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ลดอัตราการตายจากโรคมะเร็งได้อีกทางหนึ่ง
จากเหตุผลเบื้องต้น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้กำหนดการดำเนินงานควบคุมและ
ป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก เป็นงานหลักให้กับทุกสถานบริการเร่งรัดการดำเนินการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 30- 60 ปี ที่ผ่านมา กลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการด้านปฐมภูมิโรงพยาบาลหนองจิก ได้ดำเนินการตามนโยบาย และจากการดำเนินงานของกลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการด้านปฐมภูมิโรงพยาบาลหนองจิก พบปัญหาในการดำเนินงาน เป็นการดำเนินงานที่บรรลุเป้าหมายยากมาก เพราะประชาชน ยังไม่ตระหนักถึงความอันตรายของโรค มีความอายในการมาตรวจ
ดังนั้นกลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการด้านปฐมภูมิโรงพยาบาลหนองจิก ตระหนักถึงปัญหา
และเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเนื่องจากสามารถรักษาได้ หากตรวจพบในระยะเริ่มแรก จึงได้จัดทำโครงการควบคุมและป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เพื่อค้นหามะเร็งมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก ให้ครอบคลุมประชากรระดับหนึ่งซึ่งจะช่วยลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม โดยมุ่งหวังความสำเร็จให้สุขภาพของประชาชน พ้นจากมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และตระหนักในเรื่องของมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม
- เพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะแรก
- เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 50 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สตรีกลุ่มเป้าหมายซึ่งมีอายุ 30–60ปี ได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะร็งปากมดลูกและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ในสถานบริการ
- สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 30-60ปีที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม และพบภาวะผิดปกติทุกชนิด ได้รับการรักษาโดยแพทย์และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกคน
- อสม.และแกนนำครอบครัวมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับให้กลุ่มเป้าหมายและสามารถนำกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกได้อย่างครอบคลุม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1. ประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในเครือข่าย อสม.และกลุ่มเป้าหมายสตรีอายุ 30-60 ปี เพื่อค้นหาวิธีการใหม่ๆในการชักชวนกลุ่มเป้าหมายเข้าตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม 2. ได้มีการสำรวจกลุ่มเป้าหมายที่อาศัยอยู่จริงในพื้นที่รับผิดชอบ จำนวน 50 ราย 3. จัดประชุมอบรมให้ความรู้แก่ อสม . และกลุ่มเป้าหมาย เข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จำนวน 50 ราย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และตระหนักในเรื่องของมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มเป้าหมายซึ่งมีอายุ 30–60ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ร้อยละ 20 |
|
|||
2 | เพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะแรก ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มเป้าหมายซึ่งมีอายุ 30–60ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ร้อยละ 20 |
|
|||
3 | เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 50 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และตระหนักในเรื่องของมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม (2) เพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะแรก (3) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลหนองจิก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......