กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา


“ โครงการสร้างสุขภาวะชุมชนสู่คนหมู่ 5 เทพา ”

ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายการิม มูนี

ชื่อโครงการ โครงการสร้างสุขภาวะชุมชนสู่คนหมู่ 5 เทพา

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-8287-2-16 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างสุขภาวะชุมชนสู่คนหมู่ 5 เทพา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างสุขภาวะชุมชนสู่คนหมู่ 5 เทพา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างสุขภาวะชุมชนสู่คนหมู่ 5 เทพา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-8287-2-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง สมบูรณ์ทั้งร่างการและจิตใจเป็นสิ่งสำคัญสำหรับทุกคน ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อการดำรงชีวิต การเรียน การทำงาน ดังนั้นทุกคนจึงควรได้รับความรู้ด้านสุขภาพอนามัย รู้จักดูแลสุขภาพตนเองและได้รับการดูแลเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่วยขณะอยู่ในครอบครัว ชุมชน
ดังนั้น การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในขุนชน จึงมีความเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องร่วมมืออย่างจริงจังและต่อเนื่องในการเตรียมความพร้อมให้อยู่สูงอายุทุกคนตลอดจนบุคคลในครอบครัวและชุมชน    จากสภาพปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนในปัจจุบัน นับว่าเป็นปรากฏการณ์ของปัญหาใหม่ที่สำคัญปัญหาหนึ่งที่มาสามารถจะมองข้ามได้ เนื่องจากปัญหาด้านสุขภาพจะส่งผลกระทบต่อปัญหาอื่นๆ อีกมากมาย เช่น ปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา สุขภาพ เป็นต้น ปัจจุบันปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ กลุ่มโรคเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป็นต้น หากขาดการดูแลเอาใจใส่อาจส่งผลถึงชีวิตในที่สุดโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ดีของบุคคล เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคกระดูกและข้อ ตลอดจนปัญหาอุบัติเหตุต่างๆแม้ว่าจะเป็นอุบัติเหตุจากการทำงาน อุบัติเหตุจากการจราจรบนท้องถนน โรคและอุบัติเหตุต่างๆเหล่านี้ยังเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศในด้านการส่งเสริมสุขภาพ การได้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจากสถานบริการสาธารณสุข ซึ่งประชาชนและชุมชนไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ในการดูแลสุขภาพเบื้องตน แม้ว่ากระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้พยายามที่จะแก้ไขปัญหาเหล่านี้ ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจำเป็นต้องอาศัยกลยุทธ์ในการส่งเสริม ควบคุม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟู เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนในชุมชน การแก้ไขปัญหาสุขภาพ ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ในการร่วมคิด ร่วมดำเนินการ  ร่วมแก้ไข ร่วมรับผลประโยชน์ โดยเฉพาะประชาชนในพื้นที่ต้องเป็นพลังสำคัญในการขับเคลื่อนและแก้ไขปัญหาดังกล่าวเพื่อให้ชุมชนเกิดความตระหนัก ก่อให้เกิดการพัฒนาจนสามารถพึ่งตนเองแบบยั่งยืนได้ คณะกรรมการหมู่ ๕ เทพา เพื่อ เป็นการส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักปละสร้างความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเองได้ และเพื่อเป็นการสร้างการมีส่วนร่วมในการสร้างสุขภาวะ เพื่อนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิต  ที่ดี และเกิดความยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุนชนในการสร้างเสริมสุขภาวะของชุมชน
  2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง สมาชิก ในครอบครัว และคนในชุมชน เพื่อสร้างการรับรู้ตระหนักพิษภัยของบุหรี่และควันบุหรี่ เพื่อให้ประชาชนมีความพึ่งพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๑ กิจกรรมธนาคารขยะรีไซเคิล เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและสมารถคัดแยกขยะแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง
  2. คืนข้อมูลผลการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพ โดยบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ
  3. ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนตาดีกาและการผลิตน้ำหมัก
  4. ๔ กิจกรรมตีท้ายครัว (สำรวจผู้สูบและผู้รับสมัครเลิกบุหรี่ด้วยการใช้การนวด)
  5. แลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในตลาดนัดสีเขียว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 110
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุนชนในการสร้างเสริมสุขภาวะของชุมชน
  2. เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง สมาชิก  ในครอบครัว และคนในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ๑ กิจกรรมธนาคารขยะรีไซเคิล เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและสมารถคัดแยกขยะแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง

วันที่ 18 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

๑ กิจกรรมธนาคารขยะรีไซเคิล  เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและสมารถคัดแยกขยะแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง ๑.ประชาสัมพันธ์กิจกรรมเรื่องการจัดตั้งขยะรีไซเคิล ๒.ให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ ๓.ร่วมหาแนวทางแก้ไขปัญหา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-  คนในชุนชนมีการสร้างเสริมสุขภาวะของชุมชน ร้อยละ 80 - เกิดการประสานงานกันระหว่าง แกนนำหลักการในการดำเนินงานเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในชุมชน

 

50 0

2. คืนข้อมูลผลการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพ โดยบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ

วันที่ 18 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

คืนข้อมูลผลการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพ  โดยบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ ๑. ประชาสัมพันธ์กิจกรรมเรื่องการดูแลสุขภาพ ๒.ให้ความรู้การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ๓.ร่วมหาแนวทางแก้ไขปัญหา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีความเข้าใจ และความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง  สมาชิกใน ครอบครัว  และคนในชุมชนร้อยละ 80

 

40 0

3. ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนตาดีกาและการผลิตน้ำหมัก

วันที่ 19 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

๓ ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนตาดีกาและการผลิตน้ำหมัก ๑.ประชาสัมพันธ์ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนตาดีกาและการผลิตน้ำหมัก ๒.ให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ  การผลิตน้ำหมัก ในโรงเรียนตาดีกา  ชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนตาดีกาและการผลิตน้ำหมัก ประชาชนมีความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ  การผลิตน้ำหมัก ในโรงเรียนตาดีกา  ชุมชน

 

50 0

4. ๔ กิจกรรมตีท้ายครัว (สำรวจผู้สูบและผู้รับสมัครเลิกบุหรี่ด้วยการใช้การนวด)

วันที่ 20 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

๔  กิจกรรมตีท้ายครัว (สำรวจผู้สูบและผู้รับสมัครเลิกบุหรี่ด้วยการใช้การนวด) ๑.สำรวจผู้สูบบุหรี่ ๒.รับสมัครผู้สนใจเลิกบุหรี่ ๓.ให้ความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีความเข้าใจ มีความรู้และตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่และควันบุหรี่ ร้อยละ  80

 

50 0

5. แลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในตลาดนัดสีเขียว

วันที่ 20 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

๕ แลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในตลาดนัดสีเขียว ๑.ประชาสัมพันธ์เรื่องตลาดนัดสีเขียว ๒.แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรม มีการแลกเปลี่ยนความรู้ด้านสุขภาพระหว่างองค์กรภาครัฐ ผู้นำชุนชนเครือข่ายภาคประชาชนด้านสุขภาพในระดับชุมชน

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุนชนในการสร้างเสริมสุขภาวะของชุมชน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ ๘๐ มีส่วนร่วม และเป็นแกนนำหลักการในการดำเนินงานเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในชุมชน
80.00

 

2 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง สมาชิก ในครอบครัว และคนในชุมชน เพื่อสร้างการรับรู้ตระหนักพิษภัยของบุหรี่และควันบุหรี่ เพื่อให้ประชาชนมีความพึ่งพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรม
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ ๘๐ มีการแลกเปลี่ยนความรู้ด้านสุขภาพระหว่างองค์กรภาครัฐ ผู้นำชุนชนเครือข่ายภาคประชาชนด้านสุขภาพในระดับชุมชน
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 110
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุนชนในการสร้างเสริมสุขภาวะของชุมชน (2) เพื่อเสริมสร้างความรู้  ความเข้าใจ  และความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง  สมาชิก    ในครอบครัว  และคนในชุมชน  เพื่อสร้างการรับรู้ตระหนักพิษภัยของบุหรี่และควันบุหรี่  เพื่อให้ประชาชนมีความพึ่งพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑ กิจกรรมธนาคารขยะรีไซเคิล  เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและสมารถคัดแยกขยะแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง (2) คืนข้อมูลผลการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพ  โดยบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (3) ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนตาดีกาและการผลิตน้ำหมัก (4) ๔  กิจกรรมตีท้ายครัว (สำรวจผู้สูบและผู้รับสมัครเลิกบุหรี่ด้วยการใช้การนวด) (5) แลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในตลาดนัดสีเขียว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างสุขภาวะชุมชนสู่คนหมู่ 5 เทพา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-8287-2-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายการิม มูนี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด