กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ "ลด ละ เลิกบุหรี" ”

ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายอาสะอารี มาดีโมง

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ "ลด ละ เลิกบุหรี"

ที่อยู่ ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4163-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ "ลด ละ เลิกบุหรี" จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ "ลด ละ เลิกบุหรี"



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ "ลด ละ เลิกบุหรี" " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4163-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ควันบุหรี่ก่อให้เกิดผลเสียแก่สุขภาพของผู้สูบบุหรี่และผู้ไม่สูบบุหรี่ที่อยู่ใกล้เคียงหลายประการ เช่น อาจทำให้เกิดมะเร็งปอดและอวัยวะอื่น โรคหลอดเลือดหัวใจตีบอีกทั้งควันบุหรี่ยังทำให้เกิดโรคบางโรค เช่น โรคหอบหืด หรือโรคภูมิแพ้มีอาการกำเริบขึ้น ทุกปีจะมีผู้เสียชีวิตจากบุหรี่ปีละ 400,000 คน หรืออาจจะมากกว่านั้นแต่ละปีรัฐบาลต้องเสียงบประมาณเป็นค่ารักษาโรคที่เกิดจากบุหรี่มากมาย ผู้ที่อยู่กับผู้ที่สูบบุหรี่ก็ได้รับผลเช่นเดียวกัน เราเรียกกลุ่มนี้ว่าสูบบุหรี่มือสอง ควันที่ออกจากผู้สูบบุหรี่จะมีสารที่มีขนาดเลืกสามารถเข้าปอดของผู้สูบบุหรี่มือสองได้ บุหรี่จึงเป็นสิ่งเสพติดที่มีอันตรายต่อสุขภาพมาก จากการสำรวจของกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่า จำนวนผู้สูบบุหรี่ของนักเรียน นักศึกษา ทั้งประเทศมีอัตราการสูบเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทางสถานศึกษาควรตะหนักถึงพิษภัยของบุหรี่ที่มีต่อสุขภาพของตัวผู้สูบและผู้ที่่อยู่ใกล้เคียงทั้งยังเป็นสื่อชักนำไปสู่การเสพติดอื่นๆ อีกด้วย จากข้อมูลการสูบบุหรี่ย้อนหลัง 3 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบือมัง ปี 2558 ช่วงอายุ 10-14 ปี มีผู้สูบบุหรี่ จำนวน 54 คน ปี 2559 ช่วงอายุ 10-14 ปี มีผู้สูบบุหรี่ จำนวน 68 คน ปี 2560 ช่วงอายุ 10-14 ปี มีผู้สูบบุหรี่ จำนวน 75 คน (ข้อมูลจาก JHCIS:3 พฤษภาคม 2561) จะเห็นได้ว่าจากข้อมูล 3 ปี ย้อนหลัง ช่วงอายุ 10-14 ปี จะมีการเพิ่มจำนวนผู้สูบบุหรี่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เป็นลำดับ ด้วยเหตุนี้ ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบือมัง ได้ตระหนักถึงความสำคัญ เรื่อง ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบุหรี่ และโทษของบุหรี่ จึงจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ "ลด ละ เลิกบุหรี่" ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้นักเรียนได้มีความรู้และเกิดความตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่ 2.เพื่อให้นักเรียนมีความสามารถในการเป็นวิทยากรเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่ และสามารถแนะนำให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการเลิกบุหรี่ให้แก่เพื่อน ครอบครัว ชุมชน และสังคมภายนอกได้ 3.เพื่อรณรงค์ในการสร้างความเข้มแข็งและมีภูมิคุ้มกันในตนเองต่อปัญหาการสูบบุหรี่ในสถานศึกษาได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ "ลด ละ เลิกบุหรี่"

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนที่เป็นแกนนำได้รับการพัฒนาให้เป็นวิทยากรได้รับความรู้เกี่ยวกับปัญหาพิษภัยของบุหรี่ 2.นักเรียนที่เป็นแกนนำได้ช่วยเผยแพร่ข้อมูล ตลอดจนสามารถเป็นที่ปรึกษาให้แก่เพื่อนนักเรียนด้วยกันได้ 3.โรงเรียนตาดีกาเป็นโรงเรียนปลอดบุหรี่ และสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีในการสร้างค่านิยมไม่สูบบุหรี่แก่ชุมชน/สังคม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ "ลด ละ เลิกบุหรี่"

วันที่ 28 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานตามโครงการและหน้าที่รับผิดชอบ 2.ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดพื้นที่เป้าหมาย เนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ     -แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ     -ประชาสัมพันธ์โครงการและประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3.ประชุมชี้แจงแนวทางการจัดหาแกนนำ 4.จัดเตรียมสื่อ เครื่องมือการจำลองหรือโมเดลการสูบบุหรี่และพิษภัยของบุหรี่ 5.แต่งตั้งคณะทำงาน อสม.และตัวแทนผู้นำที่สนใจและมีความสามารถในการทำงานด้านปรับปรุงสิ่งแวดล้อม และจัดประชุมเพื่อกำหนดแนวทางทำงานร่วมกัน 6.จัดอบรมให้ความรู้และการจำลองหรือโมเดลการสูบบุหรี่และพิษภัยของบุหรี่ 7.ประชาสัมพันธ์โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการและการคัดเลือกแกนนำนักเรียน 8.ประเมินผลการดำเนินงานและสรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพ กิจกรรม : อบรมให้ความรู้ให้แก่แกนนำนักเรียน จำนวน 120 คน โดยแบ่งเป็น 2 รุ่นๆละ 60 คน จำนวน 4 วัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียนที่เป็นแกนนำได้รับการพัฒนาให้เป็นวิทยากรได้รับความรู้เกี่ยวกับปัญหาพิษภัยของบุหรี่ 2.นักเรียนที่เป็นแกนนำได้ช่วยเผยแพร่ข้อมูล ตลอดจนสามารถเป็นที่ปรึกษาให้แก่เพื่อนนักเรียนด้วยกันได้ 3.โรงเรียนตาดีกาเป็นโรงเรียนปลอดบุหรี่ และสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีในการสร้างค่านิยมไม่สูบบุหรี่แก่ชุมชน/สังคม

 

120 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้นักเรียนได้มีความรู้และเกิดความตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่ 2.เพื่อให้นักเรียนมีความสามารถในการเป็นวิทยากรเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่ และสามารถแนะนำให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการเลิกบุหรี่ให้แก่เพื่อน ครอบครัว ชุมชน และสังคมภายนอกได้ 3.เพื่อรณรงค์ในการสร้างความเข้มแข็งและมีภูมิคุ้มกันในตนเองต่อปัญหาการสูบบุหรี่ในสถานศึกษาได้
ตัวชี้วัด : 1.ด้านปริมาณ -อบรมแกนนำนักเรียน จำนวน 120 คน ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาการสูบบุหรี่ในสถานศึกษา และวิธีการเลิกบุหรี่ให้แก่เพื่อน ครอบครัว ชุมชน และสังคมภายนอกได้ -จัดกิจกรรมให้ความรู้ผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ต่างๆ ให้แก่นักเรียน ให้ได้รับความรู้เกี่ยวกับปัญหาการสูบบุหรี่ จำนวน 80 คน -แกนนำนักเรียน จำนวน 120 คน กล่าวคำปฏิญาณตนว่าจะไม่ยุ่งเกี่ยวกับบุหรี่และสารเสพติดทั้งมวล 2.ด้านคุณภาพ -นักเรียนที่เป็นแกนนำ มีความสามารถในการเป็นวิทยากรแผยแพร่ความรู้เรื่อง พิษภัยบุหรี่และวิธีการเลิกบุหรี่แก่เพื่อน ครอบครัว ชุมชน และสังคมภายนอกได้ -นักเรียนมีความรู้ และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ต่อตนเอง เพื่อน ครอบครัว ชุมชน และสังคมภายนอกในการเลิกสูบบุหรี่และมีเจตคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับการสูบบุหรี่
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้นักเรียนได้มีความรู้และเกิดความตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่ 2.เพื่อให้นักเรียนมีความสามารถในการเป็นวิทยากรเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่ และสามารถแนะนำให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการเลิกบุหรี่ให้แก่เพื่อน ครอบครัว ชุมชน และสังคมภายนอกได้ 3.เพื่อรณรงค์ในการสร้างความเข้มแข็งและมีภูมิคุ้มกันในตนเองต่อปัญหาการสูบบุหรี่ในสถานศึกษาได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ "ลด ละ เลิกบุหรี่"

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ "ลด ละ เลิกบุหรี" จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4163-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาสะอารี มาดีโมง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด