กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห


“ โครงการเด็กยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2561 ”

ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางพรทิพย์ พละสินธุ์ สมจินต์ มากเพ็ง นางชุติประภา เตียวรรณภพ อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนหลังบิ๊กซี

ชื่อโครงการ โครงการเด็กยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2561-l7255-02-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2561-l7255-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประชาชนจะมีสภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเพิ่มมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นโรคความดัน โรคเบาหวาน โรคไขมันในเลือดสูงผิดปกติ โรคหัวใจ ฯลฯ ซึ่งโรคเหล่านี้เป็นโรคที่เกิดขึ้นจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิตประจำวันที่ไม่ถูกต้อง เช่น การรับประทานอาหารที่ไม่มีถูกสุขลักษณะ การนอนดึก พักผ่อนไม่มีเพียงพอ สูบบุหรี่ ติดเกมส์ ดื่มเหล้า การใช้สารเสพติดต่างๆ อีกมากหมาย ดังนั้น ชุมชนหลังบิ๊กซี จึงได้จัดทำโครงการ “เด็กยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ” ขึ้น เพราะเด็ก คือ ฐานที่สำคัญของสังคม และเป็นอนาคตของชาติ ปัญหาสุขภาพเป็นปัญหาที่ใหญ่ในสังคม ปัจจุบันถ้าเด็กได้รับความรู้ และได้รับการปลูกฝังให้ทราบถึงประโยชน์ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิตที่ถูกสุขลักษณะ จะเป็นการแก้ปัญหาสุขภาพตั้งแต่เริ่มต้น ตั้งแต่อายุยังน้อยฝึกให้เป็นนิสัยปฏิบัติอย่างถูกต้องต่อไป เมื่อเขาโตเป็นผู้ใหญ่จะได้ไม่เสี่ยงต่อการเป็นโรคไม่ติดต่อ และไม่ยุ่งเกี่ยวกับสารเสพติดต่างๆ ลดปัญหาสังคมเด็กติดยา เป็นการลดค่าใช้จ่ายทั้งภาครัฐ และ ภาคประชาชน อนึ่งโครงการยังได้สอดแทรกในเรื่อง ภัยใกล้ตัว ที่เด็กควรระวังและรู้เท่าทันภัยร้าย จากยาเสพติด เพื่อให้เยาวชนได้รู้จักป้องกันตนเองไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับสารเสพติด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มทักษะการเอาตัวรอดจากการจมน้ำแก่เด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)
  2. เพื่อแก้ปัญหาเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย
  3. 1.เพื่อให้เยาวชน มีความรู้ และเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเอง และรู้จักอันตรายจากยาเสพติด 2. เพื่อให้เยาวชนเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ มีพฤติกรรมในการดำเนินชีวิตที่เหมาะกับวัยต่อไป 3. เพื่อให้เยาวชนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวัน รู้เท่าทันสังคมได้ 4. เพื่อให้เยาวชนสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ในโรงเรียน ครอบครัว และชุมชนได้ 5. เพื่อ ลด ภาวการณ์เกิดโรคที่ไม่ติดต่อให้น้อยลงได้ 6. เพื่อเป็นการลดค่าใช้จ่าย ทั้งภาครัฐ และ ภาคประชาชนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้โครงการเด็กยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ จำนวน 2 วัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 110
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 เยาวชนได้มีความรู้และเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเอง 2 เยาวชนได้รับรู้ถึงอันตรายของพฤติกรรมในการดำเนินชีวิตที่ไม่ถูกต้อง 3 เยาวชนสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน และเผยแพร่ในโรงเรียน ครอบครัว ชุมชนได้ 4 เยาวชนผู้เข้าร่วมโครงการได้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ถูกต้องตามวัย และมีสุขภาพที่ดีต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้โครงการเด็กยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ จำนวน 2 วัน

วันที่ 27 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

(วันที่ แรก) 08:30 – 08:45 น.  ลงทะเบียน
08:45 – 09:00 น.  พิธีเปิดโครงการ "เด็กยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2561"               - กล่าวเปิด โดย นายอนันต์ การันสันติ นายกเทศมนตรีเมืองคลองแห
09:00 – 12:00 น  บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับ  "พฤติกรรมในการดำเนินชีวิตที่เหมาะสมกับวัย"
12:00 – 13:00 น.  พักรับประทานอาหารกลางวัน 13:00 – 14:00 น.  บรรยาย (ต่อ) 14:00 – 15:00 น.  "การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม"
              "การเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับวัย"
16:00 – 16:30 น.สรุป/ปิดโครงการในวันแรก


(วันที่ สอง) 08:30 – 08:45 น.  แบ่งกลุ่มฐานการเรียนรู้ เป็นสองกลุ่ม 08:45 – 09:00 น.  กิจกรรม ละลายพฤติกรรม 12:00 – 13:00 น.  พักรับประทานอาหารกลางวัน 13:00 – 14:00 น.  กิจกรรมแบ่งกลุ่ม แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องยาเสพติด 15:00 – 16:30 น.  สรุปเนื้อหาทั้งสองวัน/ปิดโครงการ "เด็กยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2561"


หมายเหตุ ๑. รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา 10.00 – 10.45 น. และ เวลา 14.00 – 14.45 น. 2. กำหนดการสามารถเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เยาวชนได้มีความรู้และเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเอง 2. เยาวชนได้รับรู้ถึงอันตรายของพฤติกรรมในการดำเนินชีวิตที่ไม่ถูกต้อง 3. เยาวชนสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน และเผยแพร่ในโรงเรียน ครอบครัว ชุมชนได้ 4. เยาวชนผู้เข้าร่วมโครงการได้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ถูกต้องตามวัย และมีสุขภาพที่ดีต่อไป

 

110 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มทักษะการเอาตัวรอดจากการจมน้ำแก่เด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) เสียชีวิตจากการจมน้ำ (คน)
30.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย(คน)
40.00

 

3 1.เพื่อให้เยาวชน มีความรู้ และเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเอง และรู้จักอันตรายจากยาเสพติด 2. เพื่อให้เยาวชนเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ มีพฤติกรรมในการดำเนินชีวิตที่เหมาะกับวัยต่อไป 3. เพื่อให้เยาวชนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวัน รู้เท่าทันสังคมได้ 4. เพื่อให้เยาวชนสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ในโรงเรียน ครอบครัว และชุมชนได้ 5. เพื่อ ลด ภาวการณ์เกิดโรคที่ไม่ติดต่อให้น้อยลงได้ 6. เพื่อเป็นการลดค่าใช้จ่าย ทั้งภาครัฐ และ ภาคประชาชนได้
ตัวชี้วัด : 1.เพื่อให้เยาวชน มีความรู้ และเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเอง และรู้จักอันตรายจากยาเสพติด 2. เพื่อให้เยาวชนเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ มีพฤติกรรมในการดำเนินชีวิตที่เหมาะกับวัยต่อไป 3. เพื่อให้เยาวชนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวัน รู้เท่าทันสังคมได้ 4. เพื่อให้เยาวชนสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ในโรงเรียน ครอบครัว และชุมชนได้ 5. เพื่อ ลด ภาวการณ์เกิดโรคที่ไม่ติดต่อให้น้อยลงได้ 6 เพื่อเป็นการลดค่าใช้จ่าย ทั้งภาครัฐ และ ภาคประชาชนได้
60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 110
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มทักษะการเอาตัวรอดจากการจมน้ำแก่เด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) (2) เพื่อแก้ปัญหาเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)  ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย (3) 1.เพื่อให้เยาวชน มีความรู้ และเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเอง และรู้จักอันตรายจากยาเสพติด 2. เพื่อให้เยาวชนเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ มีพฤติกรรมในการดำเนินชีวิตที่เหมาะกับวัยต่อไป 3. เพื่อให้เยาวชนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวัน รู้เท่าทันสังคมได้ 4. เพื่อให้เยาวชนสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ในโรงเรียน ครอบครัว และชุมชนได้ 5. เพื่อ ลด ภาวการณ์เกิดโรคที่ไม่ติดต่อให้น้อยลงได้ 6. เพื่อเป็นการลดค่าใช้จ่าย ทั้งภาครัฐ และ ภาคประชาชนได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้โครงการเด็กยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ จำนวน 2 วัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2561 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2561-l7255-02-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพรทิพย์ พละสินธุ์ สมจินต์ มากเพ็ง นางชุติประภา เตียวรรณภพ อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนหลังบิ๊กซี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด