กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการร่วมใจพัฒนาตำบล รักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อพ่อหลวง
รหัสโครงการ 60-8287-1-7
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.เทพา
วันที่อนุมัติ 11 มกราคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2560
งบประมาณ 40,490.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ รพ.เทพา
พี่เลี้ยงโครงการ รพ.เทพา
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.82,100.94place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2560 31 ต.ค. 2560 11,550.00
รวมงบประมาณ 11,550.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (11,550.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (40,490.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 400 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลเทพา ตั้งแต่ปี 2554 - 2559มีจำนวนเพิ่มขึ้น ดังนี้ 2554 จำนวน 2 รายปี 2555 จำนวน 8 ราย ปี 2556 จำนวน 56 ราย ปี 2557 จำนวน 25 ราย ปี 2558 จำนวน 18 รายและปี 2559 จำนวน 56 ราย แสดงให้เห็นว่า ไข้เลือดออกยังมีการเพิ่มจำนวนขึ้นทุกๆปีปัจจัยสำคัญคือการจัดการสิ่งแวดล้อมไม่ถูกสุขลักษณะ โดยเฉพาะสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยของบุคคลต้องสะอาดถูกสุขลักษณะ จึงจะทำให้ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวมเล็งเห็นความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการร่วมใจพัฒนาตำบล รักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อพ่อหลวงขึ้น เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีจิตสำนึกและพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยการปฏิบัติตามหลัก 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรครวมทั้งการรักษาความสะอาดและร่วมมือกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมในหมู่บ้านในที่พักอาศัยของตนเอง รวมถึงในรร.ต่างๆ ให้สะอาด ถูกสุขลักษณะและรักษาให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ คามตระหนัก และร่วมมือกันรักษาคามสะอาดในบ้านเรือน ชุมชน 2. เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้ถูกต้อง 3. เพื่อประกาศเกียรติคุณให้แก่สถานศึกษาในพื้นที่ ตลอดจนกระตุ้นให้หมู่บ้านรักษาความสะอาดเพื่อเป็นหมู่บ้านต้นแบบ เป็นตัวอย่างที่ดีในการป้องกันโรคไข้เลือดออกต่อไป
  1. ร้อยละ 80 ของประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการป้องกันโรคไข้เลือด
  2. ความพึงพอใจของการเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
  3. บล้านที่เข้าร่วมโครงการ ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 70
  4. ประชาชน ผู้นำ ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดการโรคไข้เลือดออก
  5. อัตราป่วยไข้เลือดออำในพื้นที่ ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา
  6. เกิดบ้านต้นแบบในทุกหมู่บ้าน
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

กิจกรรมสร้างกระบวนการมีส่วนรวม (AHS) ในการจัดการปัญหาไข้เลือดออกในชุมชน 1. ชวนคิดชวนคุยกับผู้นำชุมชน ทุกภาคีเครือข่าย ประชาชนในทุกหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อทำความเข้าใจในการร่วมดำเนินงาน 2. ในแต่ละหมู่บ้านทำกระบวนการมีส่วนร่วม (VHS) และติดตามหมู่บ้านที่ได้รับการประเมินบ้านแล้วในปีที่ผ่านมา 3. ประเมินบ้านประจำปีนี้ 4. จัดกิจกรรมชวนคิดชวนคุยการดำเนินงานไข้เลือดออกในชุมชน 5. คืนข้อมูลพฤติกรรมการป้องกันไข้เลือดออก ประกวดโรงเรียนระดับตำบล 1. จัดอบรมคืนข้อมูลไข้เลือดออกในโรงเรียน 2. จัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงในโรงเรียน 3. ประกวดโรงเรียนปลอดลูกน้ำ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
  2. ชาวบ้านมีจิตสำนึกเรื่องความสะอาดมากขึ้น
  3. สิ่งแวดล้อมในชุมชนถูกสุขลักษณะ
  4. ปลอดโรคติดต่อ ไข้เลือดออก
  5. เกิดโรงเรียนต้นแบบในการป้องกันโรคไข้เลือดออกระดับตำบล
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 ก.พ. 2560 11:28 น.