โครงการลดเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการลดเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ปี 2561 ”
ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายทวี จบสองชั้น
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ
สิงหาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการลดเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ปี 2561
ที่อยู่ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1515-01-10 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลดเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลดเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลดเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1515-01-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,350.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในปัจจุบัน คือ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ถ้าไม่รับการดูแลรักษาและปฏิบัติตัวที่เหมาะสม จะส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมามากมาย โดยเฉพาะโรคไตเรื้อรัง (chronic kidney disease) ซึ่งปัจจุบันในประเทศไทยพบว่ามีผู้ป่วยไตวายเรื้อรังมากถึงร้อยละ 17.5 ของประชากรที่เป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมตำบล บ้านคลองมวน มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 127 คน ผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 47 คน โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 90 คน และมีการคัดกรองภาวะไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 166 ราย พบว่ามีภาวะเสี่ยงโรคไตเรื้อรัง จำนวน 24 ราย เมื่อโรคดำเนินเข้าสู่ระยะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (end stage renal disease ERSD) จะต้องได้รับการรักษาบำบัดทดแทนไต การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม การล้างไตทางช่องท้อง การผ่าตัดปลูกถ่ายไต ในประชาชนที่ใช้บัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า (บัตรทอง) สิทธิที่รัฐบาลให้ใช้ได้ คือการล้างไตทางช่องท้อง เมื่อเป็นโรคไตเรื้อรังในระยะสุดท้ายจะส่งผลต่อคุณภาพของผู้ป่วยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และประเทศจะต้องสูญเสียงบประมาณด้านสาธารณสุขเป็นเงินจำนวนมหาศาล เป็นสาเหตุการป่วย พิการ และเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของโลกและประเทศไทย ส่งผลให้เกิดภาระและสูญเสียในทุกมิติทั้งกาย จิต สังคม เศรษฐกิจต่อทั้งผู้ป่วย ครอบครัว และประเทศชาติ โดยมีปัจจัยเสี่ยงหลักที่สำคัญต่อการเกิดโรคดังนี้ ภาวะความดันโลหิตสูงและเบาหวานควบคุมโรคไม่ได้ ภาวะไขมันในเลือดสูง การสูบบุหรี่ ภาวะอ้วนลงพุง
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านคลองมวน ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ได้ตระหนักถึงความสำคัญ เพื่อไม่ให้กลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูง เกิดอุบัติการณ์พิการ และเสียชีวิตเกิดขึ้นในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูงมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง
- เพื่อให้ทีมรักษ์ไตคนคลองมวนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยเพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง
- เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมทีมรักษ์ไตคนคลองมวน /ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง/และเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโดยทีมรักษ์ไตคนคลองมวน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
56
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูงมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง
- ทีมรักษ์ไตคนคลองมวนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง
- ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีความเสี่ยงภาวะไตเรื้อรังลดลง และลดอุบัติการณ์ในการเกิดภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดอบรมทีมรักษ์ไตคนคลองมวน /ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง/และเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโดยทีมรักษ์ไตคนคลองมวน
วันที่ 29 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำ
อบรมทีมรักษ์ไตคนคลองมวน และผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะไตเสื่อม ระยะ 3และ4 ให้เกิดการปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เช่นอาหาร อารมณ์ การอกกำลังกาย ยา เพื่อลดเสี่ยงป้องกันภาวะไตเสื่อม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูงมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติตัวเหมาะสม เพื่อลดเสี่ยงป้องกันภาวะไตเสื่อม
ร้อยละ 100 ของทีมรักษ์ไตคนคลองมวนมีความรู้ ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เพื่อลดเสี่ยงป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง
53
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูงมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูงมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง
0.00
2
เพื่อให้ทีมรักษ์ไตคนคลองมวนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยเพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของทีมรักษ์ไตคนคลองมวนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยเพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง
0.00
3
เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยโรคไตลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
56
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
56
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูงมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง (2) เพื่อให้ทีมรักษ์ไตคนคลองมวนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยเพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง (3) เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมทีมรักษ์ไตคนคลองมวน /ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง/และเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโดยทีมรักษ์ไตคนคลองมวน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการลดเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ปี 2561 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1515-01-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายทวี จบสองชั้น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการลดเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ปี 2561 ”
ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายทวี จบสองชั้น
สิงหาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1515-01-10 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลดเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลดเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลดเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1515-01-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,350.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในปัจจุบัน คือ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ถ้าไม่รับการดูแลรักษาและปฏิบัติตัวที่เหมาะสม จะส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมามากมาย โดยเฉพาะโรคไตเรื้อรัง (chronic kidney disease) ซึ่งปัจจุบันในประเทศไทยพบว่ามีผู้ป่วยไตวายเรื้อรังมากถึงร้อยละ 17.5 ของประชากรที่เป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมตำบล บ้านคลองมวน มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 127 คน ผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 47 คน โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 90 คน และมีการคัดกรองภาวะไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 166 ราย พบว่ามีภาวะเสี่ยงโรคไตเรื้อรัง จำนวน 24 ราย เมื่อโรคดำเนินเข้าสู่ระยะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (end stage renal disease ERSD) จะต้องได้รับการรักษาบำบัดทดแทนไต การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม การล้างไตทางช่องท้อง การผ่าตัดปลูกถ่ายไต ในประชาชนที่ใช้บัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า (บัตรทอง) สิทธิที่รัฐบาลให้ใช้ได้ คือการล้างไตทางช่องท้อง เมื่อเป็นโรคไตเรื้อรังในระยะสุดท้ายจะส่งผลต่อคุณภาพของผู้ป่วยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และประเทศจะต้องสูญเสียงบประมาณด้านสาธารณสุขเป็นเงินจำนวนมหาศาล เป็นสาเหตุการป่วย พิการ และเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของโลกและประเทศไทย ส่งผลให้เกิดภาระและสูญเสียในทุกมิติทั้งกาย จิต สังคม เศรษฐกิจต่อทั้งผู้ป่วย ครอบครัว และประเทศชาติ โดยมีปัจจัยเสี่ยงหลักที่สำคัญต่อการเกิดโรคดังนี้ ภาวะความดันโลหิตสูงและเบาหวานควบคุมโรคไม่ได้ ภาวะไขมันในเลือดสูง การสูบบุหรี่ ภาวะอ้วนลงพุง
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านคลองมวน ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ได้ตระหนักถึงความสำคัญ เพื่อไม่ให้กลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูง เกิดอุบัติการณ์พิการ และเสียชีวิตเกิดขึ้นในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูงมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง
- เพื่อให้ทีมรักษ์ไตคนคลองมวนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยเพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง
- เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมทีมรักษ์ไตคนคลองมวน /ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง/และเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโดยทีมรักษ์ไตคนคลองมวน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 56 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูงมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง
- ทีมรักษ์ไตคนคลองมวนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง
- ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีความเสี่ยงภาวะไตเรื้อรังลดลง และลดอุบัติการณ์ในการเกิดภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดอบรมทีมรักษ์ไตคนคลองมวน /ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง/และเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโดยทีมรักษ์ไตคนคลองมวน |
||
วันที่ 29 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำอบรมทีมรักษ์ไตคนคลองมวน และผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะไตเสื่อม ระยะ 3และ4 ให้เกิดการปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เช่นอาหาร อารมณ์ การอกกำลังกาย ยา เพื่อลดเสี่ยงป้องกันภาวะไตเสื่อม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นร้อยละ 100 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูงมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติตัวเหมาะสม เพื่อลดเสี่ยงป้องกันภาวะไตเสื่อม ร้อยละ 100 ของทีมรักษ์ไตคนคลองมวนมีความรู้ ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เพื่อลดเสี่ยงป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง
|
53 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูงมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูงมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ทีมรักษ์ไตคนคลองมวนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยเพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของทีมรักษ์ไตคนคลองมวนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยเพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยโรคไตลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 56 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 56 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะเสี่ยงสูงมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติตัวที่เหมาะสม เพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง (2) เพื่อให้ทีมรักษ์ไตคนคลองมวนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยเพื่อป้องกันภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง (3) เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมทีมรักษ์ไตคนคลองมวน /ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง/และเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโดยทีมรักษ์ไตคนคลองมวน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการลดเสี่ยง เลี่ยงไตวาย ปี 2561 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 61-L1515-01-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายทวี จบสองชั้น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......