กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา


“ ป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ”

ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวพาตีเม๊าะ ฮามิดง

ชื่อโครงการ ป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย

ที่อยู่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L8278-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 สิงหาคม 2561 ถึง 25 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย



บทคัดย่อ

โครงการ " ป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L8278-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 สิงหาคม 2561 - 25 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 54,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมาลาเรีย ยังเป็นโรคสำคัญที่ทำให้ประชาชนของโลกเจ็บป่วยและเสียชีวิต แม้ผู้ป่วยจะได้รับการรักษาในโรงพยาบาลมากขึ้นแต่อัตราตายจากมาลาเรียยังคงสูงและในแต่ละปีมีผู้เสียชีวิตทั่วโลกประมาณ 627,000 คน โดยส่วนใหญ่จะเสียชีวิตจากมาลาเรียขึ้นสมอง ในประเทศไทย การแพร่กระจายของผู้ป่วยมาลาเรียจะพบมากบริเวณป่าเขาชายแดนของประเทศ ปี พ.ศ. 2560 มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย ๑๑,๔๒๘ ราย อัตราป่วย ๒๔.๖๔ ต่อแสนประชากร ส่วนใหญ่เป็นคนไทย ร้อยละ 6๒.๗๕ เชื้อที่พบส่วนใหญ่เป็นชนิดไวแวกซ์ ร้อยละ ๘๑.๙๕ ผู้ป่วยบางรายติดเชื้อมาลาเรียมากกว่า    1 ชนิด พร้อมกัน เช่น ตรวจพบทั้งฟัลซิปารัม และไวแวกซ์ อัตราป่วยตาย ร้อยละ ๐.๐๘ ในปีพ.ศ.๒๕๖๑ ตั้งแต่เดือน มกราคม ถึงเดือนมิถุนายน มีรายงานผู้ป่วย ๓,๒๙๔ ราย อัตราป่วย ๗.๑๐ ต่อแสนประชากร อัตราป่วยตาย ๐.๐๓ จังหวัดที่พบมากได้แก่ ตาก รองลงมาคือ จังหวัดยะลา ซึ่งเป็นพื้นที่หนึ่งที่มีการระบาดของโรคไข้มาลาเรียอย่างต่อเนื่องทุกปี พ.ศ. ๒๕๖๐ จังหวัดยะลามีรายงานผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย ๓,๓๙๗ ราย อัตราป่วย ๗๖๙.๙๕ ต่อแสนประชากรปี พ.ศ.๒๕๖๑ ตั้งแต่เดือน มกราคม ถึงเดือนมิถุนายน มีรายงานผู้ป่วย ๖๕๒ ราย อัตราป่วย ๑๔๕.๖๘ ต่อแสนประชากร เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมาในช่วงเวลาเดียวกันอัตราป่วยลดลงร้อยละ ๗๘.๖๕ และไม่พบผู้ป่วยเสียชีวิต แต่อัตราป่วยยังคงอยู่ในลำดับหนึ่งและสองของประเทศเช่นเดียวกับปี ๒๕๖๐ อำเภอในจังหวัดยะลาที่พบมีการระบาดมากที่สุด คือ อำเภอบันนังสตาปี พ.ศ. ๒๕๖๐ พบผู้ป่วยจำนวน ๑,๔๙๑ ราย อัตราป่วย ๒,๘๑๓.๒๑ ต่อแสนประชากร ตำบลที่มีการระบาดของโรคมาลาเรียมากที่สุดในอำเภอบันนังสตา คือ ตำบลบันนังสตา เนื่องจากสภาพของพื้นที่ของตำบลบันนังสตา มีสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศเหมาะแก่การเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงก้นปล่อง ปี พ.ศ. 2560 ตำบลบันนังสตามีรายงานผู้ป่วยด้วยโรคมาลาเรีย จำนวน ๖๑๐ ราย อัตราป่วย ๓๖๒๑.๖๘ ต่อแสนประชากร ปีพ.ศ. ๒๕๖๑ ตั้งแต่เดือน มกราคม ถึงเดือนมิถุนายน พบผู้ป่วยแล้วจำนวน ๒๓๖ ราย อัตราป่วย ๑๐๑๕.๒๖ ต่อแสนประชากรมีแนวโน้มลดลงจากปี พ.ศ. ๒๕๖๐ เทียบกับช่วงเวลาเดียวกัน กับปี พ.ศ. ๒๕๖๐ อัตราป่วยลดลง ๔๖.๓๐แต่ยังคงเป็นพื้นที่ระบาดสูงสุดของจังหวัด ของเขต และประเทศ โดยเฉพาะพื้นที่หมู่ ๕ หมู่ ๖ หมู่ ๗ หมู่ ๘ หมู่ ๙ และหมู่ ๑๐ จาการสำรวจพฤติกรรมป้องกันไข้มาลาเรียในพื้นที่ระบาดเมื่อปี งบประมาณ ๒๕๖๑ พบว่าประชาชน มีพฤติกรรมการป้องกันโรคมาลาเรียไม่ถูกต้องมีพฤติกรรมการนอนในมุ้งธรรมดาร้อยละ 44 พฤติกรรมการนอนในมุ้งชุบสารเคมีร้อยละ 56 พฤติกรรมการใช้ยาทากันยุงเป็นประจำ  ร้อยละ 6 พฤติกรรมการสวมเสื้อแขนยาวและกางเกงขายาวป้องกันยุงกัดในเวลาใกล้ค่ำเป็นประจำร้อยละ 0    มีทัศนคติที่ไม่ถูกต้องคิดว่าการนอนนอกมุ้งไม่ทำให้ป่วยมาลาเรียร้อยละ 22 โรคมาลาเรียเป็นโรคที่ไม่สามารถป้องกันได้ ร้อยละ 32
ดังนั้นหน่วยบริการปฐมภูมิโรงพยาบาลบันนังสตา จึงได้หาแนวทางแก้ปัญหาที่พบโดยการจัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้มาลาเรีย โดยจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเอง มีความรู้และเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการป้องกันโรคไข้มาลาเรีย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 400
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 400
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 61-L8278-1-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวพาตีเม๊าะ ฮามิดง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด