กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง


“ ส่งเสริมสุขภาพพนักงานเทศบาลกำแพง และแกนนำชุมชน ”

ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ว่าที่ ร้อยตรีหญิงอหนัดนงค์ รัตนวิภา

ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพพนักงานเทศบาลกำแพง และแกนนำชุมชน

ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2561-L5309-02-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 สิงหาคม 2561 ถึง 15 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมสุขภาพพนักงานเทศบาลกำแพง และแกนนำชุมชน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพพนักงานเทศบาลกำแพง และแกนนำชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมสุขภาพพนักงานเทศบาลกำแพง และแกนนำชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 2561-L5309-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 สิงหาคม 2561 - 15 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในสภาวะสังคมปัจจุบัน วิถีการดำเนินชีวิตของประชาชนคนไทย เข้าสู่สภาวะการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมการกินอยู่ การดำเนินชีวิตประจำวัน ถูกครอบงำด้วยวิถีสังคมแบบโลกตะวันตก และสังคมเมือง พฤติกรรมการบริโภคอาหารสำเร็จรูป อาหารจำพวกแป้ง และอาหารขยะ ที่มีคุณค่าทางโภชนาการตามกระแสนิยม และสื่อโฆษณาต่างๆ การผลิตอาหารของผู้ประกอบการที่มีการแข่งขัน ทำให้ต้องใช้สารเคมี ต่างๆ เข้ามาเพิ่มผลผลิตในภาคเกษตรกรรม เพื่อเร่งผลผลิตให้มีปริมาณเพียงพอกับความต้องการของผู้บริโภค จนขาดการตระหนักถึงสารเคมีตกค้าง ที่อาจสะสมในร่างกาย จากข้อมูลของสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่า คนไทยอายุ 6 ปีขึ้นไป ร้อยละ 90 กินอาหารที่มีไขมัน และกว่าครึ่งของกลุ่มดังกล่าวนิยมกินขนมกรุบกรอบ อีกร้อยละ 14 กินอาหารฟาสต์ฟู๊ดส์ และร้อยละ 31 ดื่มน้ำอัดลม น้ำหวาน จากพฤติกรรมดังกล่าวของประชาชนพบว่าประเทศไทยกำลังประสบกับปัญหาโรคติดต่อเรื้อรังที่สามารถป้องกันได้หรือโรคที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต 5 โรคได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง ซึ่งมีแนวโน้มและสถานการณ์เพิ่มขึ้นเนื่องจากต้องเผชิญกับกระแสโลกาภิวัตน์ ระบบทุนนิยมที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาทางด้านวัตถุ เกิดความเสื่อมถอย และล่มสลายของสถาบันครอบครัว สถาบันทางสังคม การดำเนินธุรกิจที่ขาดความรับผิดชอบ เกิดค่านิยม วัฒนธรรม วิถีการดาเนินชีวิตที่ไม่เพียงพอ และขาดความสมดุล สภาพแวดล้อมไม่ปลอดภัย ขาดการใส่ใจดูแลควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพฤติกรรมบริโภคที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย เกิดความเครียดไม่สามารถจัดการกับอารมณ์ได้อย่างเหมาะสม หาทางออกโดยการกินอาหาร สูบบุหรี่ ดื่มสุรา ทำให้มีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน เป็นสาเหตุหลักของโรคที่เกิดจากการดาเนินวิถีชีวิต หากไม่สามารถสกัดกั้นหรือหยุดยั้งปัญหาได้ จะทำให้เกิดการเจ็บป่วย พิการและเสียชีวิต มีภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ และการสูญเสียทางเศรษฐกิจตามมาอย่างมหาศาล นั้น       ดังนั้น ทางเทศบาลตำบลกำแพง ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้พนักงานเทศบาลและแกนนำชุมชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการรักษาและการดูแลเอาใจใส่สุขภาพในด้านต่างๆ มากยิ่งขึ้น และเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. พนักงานเทศบาลและแกนนำชุมชน ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาและการดูแลเอาใจใส่สุขภาพในด้านต่างๆ มากยิ่งขึ้น
  2. เพื่อให้พนักงานเทศบาลและแกนนำชุมชน เห็นความสำคัญในการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ อันนำไปสู่การมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์
  3. เพื่อให้พนักงานเทศบาลและแกนนำชุมชน เกิดการปรับเปลี่ยนด้านพฤติกรรม ในการออกกำลังกาย และหันมาเล่นกีฬาให้เหมาะกับวัยและความสนใจ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ในด้านการดูแลสุขภาพ
  2. ฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลัง
  3. ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกาย
  4. สรุปผลการดำเนินงานโครงการฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 130
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. พนักงานเทศบาลและแกนนำชุมชน ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาและการดูแลเอาใจใส่สุขภาพในด้านต่างๆมากยิ่งขึ้น
  2. พนักงานเทศบาลและแกนนำชุมชน เห็นความสำคัญในการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ อันนำไปสู่การมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์
  3. พนักงานเทศบาลและแกนนำชุมชน ได้หันมาสนใจเล่นกีฬาให้เหมาะกับวัยและความสนใจ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 พนักงานเทศบาลและแกนนำชุมชน ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาและการดูแลเอาใจใส่สุขภาพในด้านต่างๆ มากยิ่งขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของพนักงานเทศบาลและแกนนำชุมชน เข้าร่วมกิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาและการดูแลเอาใจใส่สุขภาพ
0.00

 

2 เพื่อให้พนักงานเทศบาลและแกนนำชุมชน เห็นความสำคัญในการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ อันนำไปสู่การมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของพนักงานเทศบาลและแกนนำชุมชน เข้าร่วมกิจกรรมได้ออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ อันนำไปสู่การมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์
0.00

 

3 เพื่อให้พนักงานเทศบาลและแกนนำชุมชน เกิดการปรับเปลี่ยนด้านพฤติกรรม ในการออกกำลังกาย และหันมาเล่นกีฬาให้เหมาะกับวัยและความสนใจ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของพนักงานเทศบาลและแกนนำชุมชน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในการออกกำลังกายมากขึ้น และหันมาเล่นกีฬาให้เหมาะกับวัยและความสนใจ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 130
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พนักงานเทศบาลและแกนนำชุมชน ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาและการดูแลเอาใจใส่สุขภาพในด้านต่างๆ มากยิ่งขึ้น (2) เพื่อให้พนักงานเทศบาลและแกนนำชุมชน เห็นความสำคัญในการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ อันนำไปสู่การมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์  (3) เพื่อให้พนักงานเทศบาลและแกนนำชุมชน เกิดการปรับเปลี่ยนด้านพฤติกรรม ในการออกกำลังกาย และหันมาเล่นกีฬาให้เหมาะกับวัยและความสนใจ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ในด้านการดูแลสุขภาพ  (2) ฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลัง  (3) ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกาย (4) สรุปผลการดำเนินงานโครงการฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมสุขภาพพนักงานเทศบาลกำแพง และแกนนำชุมชน จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2561-L5309-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ว่าที่ ร้อยตรีหญิงอหนัดนงค์ รัตนวิภา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด