กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา


“ โครงการเสริมพลังประชาชน 35 ปีขึ้นไป ลดเสี่ยงโรคเบาหวาน-โรคความดันโลหิตสูง ”

ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
รพ.เทพา

ชื่อโครงการ โครงการเสริมพลังประชาชน 35 ปีขึ้นไป ลดเสี่ยงโรคเบาหวาน-โรคความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-8287-1-8 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมพลังประชาชน 35 ปีขึ้นไป ลดเสี่ยงโรคเบาหวาน-โรคความดันโลหิตสูง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมพลังประชาชน 35 ปีขึ้นไป ลดเสี่ยงโรคเบาหวาน-โรคความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมพลังประชาชน 35 ปีขึ้นไป ลดเสี่ยงโรคเบาหวาน-โรคความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-8287-1-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 67,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากผลการคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ของคลินิกเวช1-3 รพ.เทพา ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ปี 2557ร้อยละ 98.07พบกลุ่มสงสัยเป็นโรค 3.32 และกลุ่มป่วยรายใหม่ 1.70 ปี 2558 คัดกรองร้อยละ 97.22 พบกลุ่มสงสัยเป็นโรคร้อยละ 5.43 และป่วยรายใหม่ 1.17ในปี 2559 คัดกรอง 89.62 พบสงสัย 4.50 และป่วย 2.16 และคัดกรองโรคเบาหวานในปี 2557 ร้อยละ 96.44 พบสงสัย 1.13 และป่วย 1.93ปี 2558 คัดกรองร้อยละ 89.46พบสงสัย 1.71และป่วย 3.02 ปี 2559 คัดกรองร้อยละ92.09 พบสงสัย1.46 และป่วย 2.45 จากสถานการณ์ดังกล่าวเห็นว่า ประชาชนมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น ซึ่งปัจจัยจากอาหาร ขาดการออกกำลังกาย ความเครียด การสูบบุหรี่ อีกทั้งขาดความตื่นตัว ทักษะในการป้องกันโรค
ดังนั้น กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวมโรงพยาบาลเทพา ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหา จึงจัดทำโครงการเสริมพลังประชาชน 35 ปี ขึ้นไป ลดเสี่ยงโรคเบาหวาน- ความดันโลหิตสูง ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปมีความรู้ความเข้าใจ สามารถดูแลสุขภาพของตนเองเพื่อป้องกันการป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 3. เพื่อเสริมพลังให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ในด้านการออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร สุขภาพจิตและหลีกเลี่ยงพฤติกรรมการดื่มสุราและสูบบุหรี่ เพื่อป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 4. เพื่อเสริมพลังให้ครอบครัวและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมลดเสี่ยงโรคเบหวานความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 240
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนมีการป้องกันและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเปาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
    2. ประชาชนสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับให้บุคคลหรือผู้อื่นได้รับทราบและสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
    3. ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพแข็งแรงและมีชีวิตที่ดีขึ้น
    4. กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมกิจกรรมลดป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดัน
    5. เกิดหมู่บ้านจัดการสุขภาพโรคเบาหวานและความดัน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ประชาชนอายุ 35 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 98.28
    2. ประชาชนอายุ 35 ปีได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ร้อยละ 94.99
    3. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ร้อยละ  93.85
    4. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง HT  ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ 98.32
    5. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงส๔งต่อ DM ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ 97.07
    6. เกิดกลุ่มออกกำลังกาย รู้จักกันมากขึ้น
    7. เกิดกระแสการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปมีความรู้ความเข้าใจ สามารถดูแลสุขภาพของตนเองเพื่อป้องกันการป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 3. เพื่อเสริมพลังให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ในด้านการออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร สุขภาพจิตและหลีกเลี่ยงพฤติกรรมการดื่มสุราและสูบบุหรี่ เพื่อป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 4. เพื่อเสริมพลังให้ครอบครัวและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมลดเสี่ยงโรคเบหวานความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : 1. ประชาชน 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน-ความดันไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีพฤติกรรมดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 3. อัตราการเพิ่มของผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลงร้อยละลดลง 20 4. อัตราการเพิ่มของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลงร้อยละ 30

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 320
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 240
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปมีความรู้ความเข้าใจ สามารถดูแลสุขภาพของตนเองเพื่อป้องกันการป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 3. เพื่อเสริมพลังให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ในด้านการออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร สุขภาพจิตและหลีกเลี่ยงพฤติกรรมการดื่มสุราและสูบบุหรี่ เพื่อป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 4. เพื่อเสริมพลังให้ครอบครัวและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมลดเสี่ยงโรคเบหวานความดันโลหิตสูง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเสริมพลังประชาชน 35 ปีขึ้นไป ลดเสี่ยงโรคเบาหวาน-โรคความดันโลหิตสูง จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-8287-1-8

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( รพ.เทพา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด