กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง


“ โครงการรณรงค์รักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชนอย่างยั่งยืน ”

ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายประกอบศักดิ์ สายวารี

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์รักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชนอย่างยั่งยืน

ที่อยู่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5215-1-8 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์รักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชนอย่างยั่งยืน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์รักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชนอย่างยั่งยืน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์รักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชนอย่างยั่งยืน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5215-1-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 200,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ขยะคือสิ่งต่างๆ ที่ผู้คนไม่ต้องการและทิ้งมันไป ขยะมีมากมายหลายประเภท เช่น ขยะที่เป็น ทั้งของแข็ง ของเหลว ขยะที่ย่อยสลายได้และที่ย่อยสลายไม่ได้ ขยะที่สามารถนำกลับไปใช้ใหม่ได้ โดยสามารถแยกเป็นประเภทต่างๆ ได้แก่     - ขยะทั่วไป เช่น เศษผ้า, เศษวัสดุก่อสร้างที่ถูกทำลาย เศษผง ปูน ทราย อิฐ     - ขยะอินทรีย์ เช่น อาหาร พืช และผลิตภัณฑ์จากพืช ซากพืช ซากสัตว์ที่ยังไม่เน่าเปื่อย     - ขยะรีไซเคิล เช่น แก้ว พลาสติก กระป๋อง โลหะ ผ้าหรือสิ่งทอ แบตเตอรี่ เป็นต้น     - เครื่องใช้ไฟฟ้า คอมพิวเตอร์ ทีวี จอภาพ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์     - ขยะอันตราย เช่น แบตเตอรี่ หลอดไฟ สี สารเคมี กระป๋องสเปรย์ ปุ๋ย วัตถุระเบิด สารติดไฟ     - วัสดุใส่ยาฆ่าแมลง ยาฆ่าหญ้า ยาฆ่าเชื้อต่างๆ     ผลการสำรวจของชีวจิตโพลโครงการ 6 ที่ระบุว่า คนในสังคมไทยรู้ว่าขยะที่ทิ้งก่อให้เกิดโรค      แต่ไม่ทราบขยะนั้นส่งผลกระทบที่รุนแรงต่อร่างกายถึงร้อยละ 92.3 โดยโรคภัยที่มาจากขยะ 4 อันดับแรก ได้แก่ ท้องร่วงท้องเสีย โรคภูมิแพ้ คลื่นไส้อาเจียน และปวดศีรษะ ตามลำดับ     การวิจัยดังกล่าวยังชี้ให้เห็นว่า ไม่เพียงแค่คนเก็บขยะเท่านั้นที่ติดเชื้อโรคจากขยะ แต่ยังคงรวมถึงผู้ที่มีพฤติกรรมที่ไม่ถูกสุขลักษณะและมีสภาพชีวิตความเป็นอยู่ในสภาพแวดล้อมที่สกปรก      มีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อโรคได้ง่ายมากยิ่งขึ้น     นอกจากนี้ ขยะยังเป็นสาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิดมลพิษทางสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็นมลพิษของน้ำ มลพิษของดิน และมลพิษของอากาศ เพราะขาดการเก็บรวบรวมและการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี  ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของโลกเราได้โดยตรง ยกตัวอย่าง เช่น การเผาขยะ ก็จะเป็นมลพิษในอากาศ    เกิดแก๊สพิษต่างๆ และแก๊สเรือนกระจก เป็นผลทำให้เกิดภาวะโลกร้อน

    ทางออกสำหรับเรื่องนี้ จึงไม่ใช่เพียงการหาพื้นที่ฝังกลบขยะแห่งใหม่ หรือโรงงานเผาขยะรุ่นใหม่เท่านั้น หากในระยะยาวแล้ว “การหาวิธีลดปริมาณขยะ” โดยคำนึงถึงความจำเป็นที่จะต้อง ใช้สิ่งของเหล่านี้อย่างรู้คุณค่า และมองว่าขยะทุกชิ้นก็คือทรัพยากรธรรมชาติอย่างหนึ่งของโลกเรา     ในพื้นที่ตำบลเขารูปช้างมีจำนวนประชากรตามทะเบียนราษฎร์ 40,336 คน และประชากรแฝงอีกประมาณเท่าตัวมีอัตราการเกิดขยะมูลฝอย 35 - 40 ตันต่อวัน อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน และสิ่งแวดล้อมในชุมชน กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเขารูปช้าง จึงมีแนวคิดหาวิธีการลดปริมาณขยะในชุมชน ได้แก่ การให้ความรู้ การส่งเสริม และสนับสนุนด้านการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง เพื่อป้องกันการเกิดโรคจากขยะมูลฝอย และลดปริมาณขยะในชุมชน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนให้มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรณรงค์รักษ์ษาสิ่งแวดล้อมในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีการคัดแยกขยะ และมีการจัดการขยะแต่ละประเภท และสามารถใช้ประโยชน์ จากขยะมูลฝอย
  2. แต่ละชุมชนมีปริมาณขยะมูลฝอยลดลง สิ่งแวดล้อมดีขึ้นส่งผลต่อสุขภาพประชาชนดีขึ้น
  3. ลดแหล่งเพาะพันธุ์โรคต่างๆ เช่น อุจจาระร่วง โรคเกี่ยวกับยุงและแมลงเป็นพาหะนำโรค

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมรณรงค์รักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชน

วันที่ 2 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมรณรงค์รักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชน จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 130 ป้าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมรณรงค์รักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชน จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 130 ป้าย

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ
ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์รักษ์ษาสิ่งแวดล้อมในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์รักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชนอย่างยั่งยืน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5215-1-8

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประกอบศักดิ์ สายวารี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด