กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ


“ โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปี 2561 ”

ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายอรุณ เอ็มดู

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5312-01-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปี 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5312-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 133,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก อำเภอละงู ปี 2559 ที่ทำการควบคุมป้องกันโรคทั้งหมด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 พบรายงานผู้ป่วยทั้งหมดจำนวน 1,877 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 2,711.17 ต่อประชากรแสนคน มีผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย อัตราตาย 1.44 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยเพศชาย 881 ราย เพศหญิง 1,006 ราย กลุ่มอายุที่พบมากที่สุดคือ 15-25 ปี รองมาคือ 10-15 ปี, 5-9 ปี จำนวน 539, 504 และ 482 ราย ตามลำดับ อาชีพที่พบมากที่สุดคือ นักเรียน ,รับจ้าง และเด็กเล็กในปกครอง ตามลำดับ พื้นที่ที่พบผู้ป่วยมากที่สุดคือตำบลน้ำผุดอัตราป่วย 4226.43 ต่อแสนประชากร ตำบลเขาขาวอัตราป่วย 3,149.36 ต่อแสนประชากร
  ตำบลละงูอัตราป่วย 2,842.59 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ พบการระบาดสูงในทุกตำบล ซึ่งตามเกณฑ์ในแต่ละตำบลจะต้องมีอัตราป่วยไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร ตำบลปากน้ำ มีการกระจายของโรคไข้เลือดออ ก ทั้ง 6 หมู่บ้าน จำนวนผู้ป่วยมากที่สุดในเดือนสิงหาคม หมู่บ้านที่มีการระบาดมากที่สุดคือ หมู่ที่ 2 บ้านปากบารา จำนวน 70 ราย ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นแรงงานต่างชาติ หมู่ที่ 4 ตะโละใส จำนวน 29 ราย หมู่ที่ 1 บ่อเจ็ดลูก จำนวน 18 ราย หมู่ที่ 7 ท่าพะยอม จำนวน 13 ราย หมู่ที่ 5 บ้านท่ายาง จำนวน 13 ราย หมู่ที่ 6 ท่ามาลัย 10 ราย ตามลำดับ ส่วนหมู่ที่ 3 เกาะบุโหลน ไม่มีผู้ป่วย (ศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอ ละงู : ธ.ค.59)
  สถานการณ์โรคไข้เลือดออก อำเภอละงู ปี 2560 พบว่าตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 – 31 ธันวาคม 2560 พบผู้ป่วยที่ยืนยันจำนวน 48 ราย ตำบลละงู 15 ราย ตำบลกำแพง 9 ราย ตำบลแหลมสน 10 ราย ตำบลเขาขาว 6 ราย ส่วนตำบลปากน้ำ พบผู้ป่วย 4 ราย (ศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอ ละงู : ธ.ค. 60 )
  สถานการณ์โรคไข้เลือดออก อำเภอละงู ปี 2561 พบว่าตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 – 15 กรกฎาคม 2561 พบผู้ป่วยที่ยืนยันจำนวน 46 ราย ตำบลละงู 20 ราย ตำบลกำแพง 10 ราย ตำบลแหลมสน 8 ราย ตำบลเขาขาว 1 ราย ส่วนตำบลปากน้ำ พบผู้ป่วย 6 ราย เป็นผู้ป่วยที่อาศัยในพื้นที่หมู่ที่ 2 ปากบารา จำนวน 5 ราย และหมู่ที่ 4 บ้านตะโละใส 1 ราย อีกทั้งยังมีผู้ป่วยผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกที่รอการยืนยันอีกประมาณ 15 ราย (ศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอ ละงู : ก.ค. 61) นอกจากนี้ยังพบผู้ป่วยด้วยโรคชิคุนกุนย่าหรือไข้ปวดข้อยุงลายที่ได้รับการยืนยันในพื้นที่หมู่ที่ 6 บ้านท่ามาลัย จำนวน 10 ราย ซึ่งโรคดังกล่าวมีการระบาดทั่วพื้นที่ภาคใต้ลาสุดเมื่อปี พ.ศ. 2553 ถึงแม้ว่าในภาพรวมระดับอำเภอละงูยังพบผู้ป่วยไม่กี่ราย แต่อย่างไรก็ตามการเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์โรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนย่าระบาดในพื้นที่ก็ยังเป็นสิ่งสำคัญ ทั้งนี้ในรอบปีที่ผ่านมามีการระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนย่าในตำบลปากน้ำเป็นจำนวนมากส่งผลให้วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในงานควบคุมโรคหมดลงอย่างรวดเร็วมีไม่เพียงพอ
  ดังนั้นเพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคติดต่อนำโดยแมลงอย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำจึงร่วมกับภาคีเครือข่ายด้านสาธารณสุขในพื้นที่ ตระหนักและเห็นความสำคัญต่อปัญหาดังกล่าวจึงจัดโครงการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2561 เพื่อเตรียมความพร้อมในการเฝ้าระวังป้องกันการระบาดของโรคติดต่อ
ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลปากนํ้า

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน/ผู้นำชุมชนและผู้นำด้านสุขภาพ ความรู้ในการเฝ้าระวังโรคติดต่อที่นำโดยแมลงและภัยคุกคามสุขภาพ
  2. 2.เพื่่อรณรงค์ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรค
  3. 3.เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับใช้ในการปฏิบัติงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแนวทางการดำเนินงานการควบคุมโรคและป้องกันโรคติต่อนำโดยแมลง
  2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมชุมชนร่วมใจป้องกันโรคติต่อนำโดยแมลงในชุมชน จำนวน 7 หมู่บ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 280
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อนำโดยแมลงลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 30
2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคติดต่อนำโดยแมลงได้รับการดูแลด้านการป้องกันโรคไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. ประชาชนมีส่วนร่วนในการทำกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน/ผู้นำชุมชนและผู้นำด้านสุขภาพ ความรู้ในการเฝ้าระวังโรคติดต่อที่นำโดยแมลงและภัยคุกคามสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1.จัดกิจกรรมอบรมแนวทางการดำเนินการควบคุมโรคและป้องกันโรคติดต่อโดยแมลง จำนวน 1 ครั้ง
0.00

 

2 2.เพื่่อรณรงค์ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรค
ตัวชี้วัด : 1. จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลงในชุมชนภายใต้แนวคิด “ดีเดย์ เก็บให้เกลี้ยง ไม่เลี้ยงยุงลาย” จำนวน 1 ครั้ง ทุกหมู่บ้าน
0.00

 

3 3.เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับใช้ในการปฏิบัติงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 1. มีวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นในการใช้ดำเนินการควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 280
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 280
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน/ผู้นำชุมชนและผู้นำด้านสุขภาพ ความรู้ในการเฝ้าระวังโรคติดต่อที่นำโดยแมลงและภัยคุกคามสุขภาพ (2) 2.เพื่่อรณรงค์ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรค (3) 3.เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับใช้ในการปฏิบัติงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแนวทางการดำเนินงานการควบคุมโรคและป้องกันโรคติต่อนำโดยแมลง  (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมชุมชนร่วมใจป้องกันโรคติต่อนำโดยแมลงในชุมชน จำนวน 7 หมู่บ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปี 2561 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5312-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอรุณ เอ็มดู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด